กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าแพ


“ โครงการอบรมพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลและผู้ป่วยต่อเนื่องที่บ้าน ”

โรงพยาบาลท่าแพ

หัวหน้าโครงการ
นางเอมอร ขุนเพชร

ชื่อโครงการ โครงการอบรมพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลและผู้ป่วยต่อเนื่องที่บ้าน

ที่อยู่ โรงพยาบาลท่าแพ จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2562 ถึง 31 กรกฎาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลและผู้ป่วยต่อเนื่องที่บ้าน จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงพยาบาลท่าแพ

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าแพ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลและผู้ป่วยต่อเนื่องที่บ้าน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลและผู้ป่วยต่อเนื่องที่บ้าน " ดำเนินการในพื้นที่ โรงพยาบาลท่าแพ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2562 - 31 กรกฎาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าแพ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การดูแลผู้ป่วยที่บ้านเป็นกลยุทย์สำคัญที่ช่วยลดเวลาการนอนรักษาตัวในโรงพยาบาลทำให้ปริมาณงานและค่าใช้จ่ายในภาพรวมลดลง การดูแลผู้ป่วยที่บ้านมีโอกาสใกล้ชิดและรับทราบปัญหาทั้งหมดทุกด้านที่มีผลกระทบต่อการฟื้นหายของผู้ป่วย ช่วยให้การค้นหาสาเหตุร่วมของการเจ็บป่วยและการแก้ปัญหาได้ตรงจุดมากขึ้น โดยเน้นการจัดบริการสุขภาพแบบผสมผสานให้กับประชาชนทุกกลุ่มอายุด้านการส่งเสริมสุขภาพ การควบคุมป้องกันโรค การักษาโรคเบื้องต้นและฟื้นฟูสภาพเพื่อสนับสนุนการดูแลตนเองของประชาชนและสร้างการมีส่วนร่วมในการจัดการดูแลสุขภาพตนเองของสมาชิกในครอบครัวและชุมชน เชื่อมโยงการบริการพยาบาลจากโรงพยาบาลมายังสถานบริการในชุมชน และที่บ้าน
การดูแลต่อเนื่องเป็นกระบวนการ การประเมิน การวางแผน การประสานงานและบูรณาการร่วมมือกันดูแลสุขภาพ/ปัญหาของผู้รับบริการอย่างต่อเนื่องตั้งแต่โรงพยาบาลถึงบ้านเพื่อจัดเตรียมเอื้ออำนวยให้ผู้รับบริการมีความพร้อมดูแลตนเองตามสภาพปัญหาความเจ็บป่วยภายใต้บริบทและทรัพยากรที่มีอยู่ การดูแลต้องมีความต่อเนื่อง ทุกปัญหาของผูป่วยต้องได้รับการดูแลจากผู้ประกอบวิชาชีพ เพื่อให้สามารถช่วยตัวเองในการทำกิจวัตรประจำวัน ในอำเภอท่าแพมีกลุ่มป่วยโรคเรื้อรังในชุมชน ปี 2557 จำนวน 1,558 ราย ปี 2558 จำนวน 1,780 ราย ปี 2559 จำนวน 2,914 ราย ปี 2560 จำนวน 3,018 ราย ปี 2561 จำนวน 3,177 ราย ตำบลท่าแพพบกลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่มีความเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง และเป็นผู้ป่วยติดเตียง ร้อยละ 78.8 ในกลุ่มผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลท่าแพและเข้ารับการฟื้นฟูสภาพ จำนวน 17 ราย ในปี 2560 พบว่า ส่วนใหญ่ที่เกิดโารคหลอดเลือดสมองมีอายุมากกว่า 60 ปี มีประวัติเป็นโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 70.58 จากการถอดบทเรียนในกลุ่มผูป่วยและญาติกลุ่มผู้ป่วยดังกล่าว มีปัจจัยที่เกี่ยวข้องคือ ขณะเป็นโรคความดันโลหิตสูงควบคุมความดันโลหิตไม่ได้ ขาดความต่อเนื่องในการรักษา ขากการรับรู้เมื่อเกิดภาวะแทรกซ้อนของโรค บางรายเป็นผู้สูงอายุไม่มีผู้ดูแล เมื่อเกิดภาวะแทรกซ้อนไม่สามารถเดินทางไปรักษาได้ ไม่มีรถเดินทางไปโรงพยาบาลลำบาก เป็นต้น
งานเยี่ยมบ้าน กลุ่มงานเวชปฏิบัติครอบครัวและหน่วยบริการปฐมภูมิ เครือข่ายสุขภาพอำเภอท่าแพ เห็นความสำคัญของการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้ป่วยต่อเนื่องที่บ้าน ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ ให้สามารถช่วยเหลือตนเองและปรับตัวใช้ชีวิตอยู่ในบ้านและชุมชนได้ตามศักยภาพของผู้ป่วย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อการมีส่วนร่วมของครอบครัวในการจัดการวางแผนดูแลสุขภาพผู้ป่วย
  2. 2.เพื่อให้ครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการป้องกันความเสียงต่อการเป็นโรคซ้ำซ้อน
  3. 3.เพื่อพัฒนาศักยภาพ เครือข่ายสุขภาพประจำหมู่บ้าน อสม.และผู้ดูแล
  4. 4.เพื่อฝึกปฏิบัติการใช้อุปกรณ์ที่ติดตัวมากับผู้ป่วย เช่น ทำแผลเจาะคอ การใช้เครื่องออกซิเจน การให้อาหารทางสายยาง และ สายสวนปัสสาวะ เป็นต้น
  5. 5.เพื่อพัฒนาเครือข่ายสุขภาพงานเยี่ยมบ้านของอำเภอท่าแพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมเจ้าหน้าที่ท่ีเกี่ยวข้อง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 80
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้ดูแลญาติ แกนนำชุมชน อสม. ในตำบลท่าแพมีศักยภาพในการดูแลผู้ป่วยต่อเนื่องทีบ้านและเป็นแบบอย่างที่ดีในด้านการสร้างสุขภาพแก่ประชาชนทั่วไป ให้การช่วยเหลือชุมชนโดยชุมชน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง

วันที่ 17 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

 

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มผู้ป่วยได้รับได้เข้าถึงการบริการและได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพทางกายตามความเหมาะสม

 

80 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

กลุ่มผู้ป่วยได้รับการดูแลแบบองค์รวมตามมาตรฐานงานเยี่ยมบ้าน ร้อยละ 100 ของญาติผู้ดูแล อสม. แกนนำ สามารถปฏิบัติหน้าที่ดูแลฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยที่บ้าน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อการมีส่วนร่วมของครอบครัวในการจัดการวางแผนดูแลสุขภาพผู้ป่วย
ตัวชี้วัด : -กลุ่มผู้ป่วยได้เข้าถึงบริการได้รับการประเมินการการทำกิจวัตรประจำวัน -กลุ่มผู้ป่วยได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพทางกายตามความเหมาะสม -กลุ่มผู้ป่วยได้รับการดูแลแบบองค์รวมและตามมาตรฐานการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
0.00

 

2 2.เพื่อให้ครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการป้องกันความเสียงต่อการเป็นโรคซ้ำซ้อน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 3.เพื่อพัฒนาศักยภาพ เครือข่ายสุขภาพประจำหมู่บ้าน อสม.และผู้ดูแล
ตัวชี้วัด : -ร้อยละ 80 ของญาติผู้ดูแล อสม. แกนนำชุมชน สามารถปฏิบัติหน้าที่ดูแลฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยที่บ้าน -ร้อยละ 80 ของญาติผู้ดูแลผู้ป่วยที่บ้านมีความพึงพอใจต่อกิจกรรม
0.00

 

4 4.เพื่อฝึกปฏิบัติการใช้อุปกรณ์ที่ติดตัวมากับผู้ป่วย เช่น ทำแผลเจาะคอ การใช้เครื่องออกซิเจน การให้อาหารทางสายยาง และ สายสวนปัสสาวะ เป็นต้น
ตัวชี้วัด :
0.00

 

5 5.เพื่อพัฒนาเครือข่ายสุขภาพงานเยี่ยมบ้านของอำเภอท่าแพ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 80 80
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อการมีส่วนร่วมของครอบครัวในการจัดการวางแผนดูแลสุขภาพผู้ป่วย (2) 2.เพื่อให้ครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการป้องกันความเสียงต่อการเป็นโรคซ้ำซ้อน (3) 3.เพื่อพัฒนาศักยภาพ เครือข่ายสุขภาพประจำหมู่บ้าน อสม.และผู้ดูแล (4) 4.เพื่อฝึกปฏิบัติการใช้อุปกรณ์ที่ติดตัวมากับผู้ป่วย เช่น ทำแผลเจาะคอ การใช้เครื่องออกซิเจน การให้อาหารทางสายยาง และ สายสวนปัสสาวะ เป็นต้น (5) 5.เพื่อพัฒนาเครือข่ายสุขภาพงานเยี่ยมบ้านของอำเภอท่าแพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมเจ้าหน้าที่ท่ีเกี่ยวข้อง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลและผู้ป่วยต่อเนื่องที่บ้าน จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางเอมอร ขุนเพชร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด