โครงการบริโภคปลอดภัย ฟันสวยสดใส ใส่ใจสุขภาพ
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการบริโภคปลอดภัย ฟันสวยสดใส ใส่ใจสุขภาพ ”
ศพด บ้านวังเจริญราษฏร์ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางวิไลวรรณ อย่างดี
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการบริโภคปลอดภัย ฟันสวยสดใส ใส่ใจสุขภาพ
ที่อยู่ ศพด บ้านวังเจริญราษฏร์ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 60-L5294-3-03 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการบริโภคปลอดภัย ฟันสวยสดใส ใส่ใจสุขภาพ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ศพด บ้านวังเจริญราษฏร์ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการบริโภคปลอดภัย ฟันสวยสดใส ใส่ใจสุขภาพ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการบริโภคปลอดภัย ฟันสวยสดใส ใส่ใจสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ศพด บ้านวังเจริญราษฏร์ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 60-L5294-3-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 54,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
อาหารคือสิ่งที่มีประโยชน์ต่อร่างกายและสมองเมื่อรับประทานเข้าไปจะนำไปเลี้ยงสมองและส่วนต่างๆของร่างกาย การรับประทานอาหารที่มีประโยชน์จะต้องรัประทานให้ครบ๕หมู่ การได้รับสารอาหารที่ครบถ้วนและเพียงพอต่อร่างกายเด็กก็เจริญเติบโตได้อย่างเต็มศักยภาพ แต่ถ้าน้ำหนักและส่วนสูงไม่ตามเกณฑ์มาตรฐานสาธารณสุข เด็กร่างกายอ่อนแอ เจ็บไข้ได้ป่วยได้ง่าย ซึ่งมีปัจจัยต่างๆ ได้แก่การบริโภคอาหารของเด็กไม่ถูกต้องตามโภชนาการ โดยเฉพาะขนมกรุบกรอบการรับประทานอาหารที่ไม่ถูกสุขลักษณะ ถ้าหากรับประทานไม่ถูกสัดส่วนก็จะนำไปสู่การเกิดโรคเหงือกและฟันผุได้ อาหารที่มีคาร์โบไฮเดรต น้ำตาล และแป้งสูง จะเป็นปัจจัยสำคัญในการเกิดกรดแบคทีเรียที่ไปทำลายเคลือบฟัน ในที่สุดแล้ว กรดเหล่านี้ก็จะทำให้เคลือบฟันเสื่อม และทำให้เกิดฟันผุสุขภาพในช่องปากนั้นมีความสัมพันธ์กับสุขภาพร่างกาย การดูแลรักษาสุขภาพช่องปากให้ดีจึงมีผลต่อการมีสุขภาพกายที่ดีด้วยปัญหาสุขภาพในช่องปากมีหลายสาเหตุ โรคและความผิดปกติในช่องปากของเด็กเล็กมีหลายประการทั้งนี้อาจมาจากพฤติกรรมด้านสุขภาพของเด็กนักเรียนที่เสี่ยงต่อการป่วยด้วยโรคในช่องปาก แต่ปัญหาที่ชัดเจนที่สุดคือโรคฟันผุ พบว่า โดยมากแล้วเด็กเป็นโรคฟันผุตั้งแต่ก่อนอายุ ๑ ขวบ และเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วมากในช่วงเด็กอายุ ๑-๓ ขวบเนื่องจาก พฤติกรรมการการบริโภคขนมหวานเหนียวติดฟัน พฤติกรรมการกินนมจากขวดที่เป็นสาเหตุของโรคฟันผุแต่ไม่คิดว่านมที่ตกค้างในช่องปาก ขณะที่เด็กนอนหลับจะเป็นผลให้เกิดโรคฟันผุ และขาดการดูแลเอาใจใส่ของเด็กนักเรียนและผู้ปกครองเด็กในการดูแลสุขภาพช่องปาก และการที่เด็กมีฟันผุผู้ใหญ่กลับคิดว่าเป็นเรื่องธรรมดา แต่จริงแล้วฟันผุเป็นเรื่องอันตราย เพราะเด็กมีภูมิต้านทานน้อย แม้จะไม่อันตรายถึงแก่ชีวิตแต่ก็ทำให้เด็กเจ็บปวดทรมาน เสียสุขภาพ
สำหรับประเทศไทยโรคฟันผุในเด็กเล็กยังคงเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะเด็กในเขตชนบทสาเหตุการเกิดโรคฟันผุส่วนหนึ่งมาจากการที่เด็กรับประทานอาหารที่มีรสหวาน และการติดหวานของเด็ก ซึ่งในปัจจุบันพบว่าคนไทยบริโภคน้ำตาลเฉลี่ยคนละ ๓๑.๑ กิโลกรัมต่อปี เพิ่มมากขึ้นกว่าเมื่อ ๑๐ ปีที่แล้วและมากกว่ามาตรฐานที่ควรบริโภคถึงเกือบ ๓ เท่า การศึกษาในเด็กเล็กที่มารับวัคซีนโรงพยาบาลตำรวจ เมื่อ ปี พ.ศ. ๒๕๔๑ พบว่าคุณแม่กว่าร้อยละ ๑๗ เลือก นมรสหวานให้แก่ลูก และการศึกษาในจังหวัดแห่งหนึ่งในปี พ.ศ. ๒๕๔๓ พบว่า ผู้ปกครองถึงกว่าร้อยละ ๖๒ เติมน้ำตาลรูปแบบต่างๆ เพิ่มไปในนมให้เด็ก รากฐานสำคัญที่สุดหนึ่งของการติดหวานอยู่ที่แบบแผนการบริโภคอาหารและเครื่องดื่มของเด็กตั้งแต่ช่วงแรกของชีวิตแบบแผนการบริโภคของเด็กได้ถูกสร้างขึ้นตั้งแต่อายุ๖ เดือนซึ่งได้รับอิทธิพลจากแม่และผู้เลี้ยงดูเป็นสำคัญ การสัมภาษณ์ทรรศนะของพ่อแม่เกี่ยวกับการดื่มนมของเด็ก พ่อแม่มักให้ความสำคัญกับการให้เด็กได้ดื่มนมมากๆ และคิดว่าความหวานช่วยให้เด็กดื่มนมได้มากขึ้น ซึ่งพ่อแม่ให้ความสำคัญมากกว่าผลเสียต่อสุขภาพด้านอื่น การทำให้เด็กคุ้นเคยกับความหวานตั้งแต่ทารกเป็นการเพาะเชื้อการติดหวานที่มีประสิทธิภาพยิ่งเพราะเมื่อเด็กโตขึ้นและเริ่มจะมีส่วนในการเลือกอาหารเองได้แล้วเด็กก็จะเลือกบริโภคอาหารหวานและจะเพิ่มความหวานมากยิ่งขึ้นเรื่อยๆไปจนโต การห้ามจะเป็นไปได้ยาก เพราะโดยธรรมชาติเด็กยิ่งชอบของหวานอยู่แล้ว
พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงเด็กจึงมีส่วนสำคัญที่สุด ในการปลูกฝังพฤติกรรมดังกล่าว และจะมีผลไปจนถึงบริโภคนิสัยในอนาคต การควบคุมอาหารหวานของเด็กนับเป็นเรื่องที่น่าหนักใจสำหรับผู้ปกครอง ยิ่งเด็กที่เลี้ยงดูโดยปู่ย่าตายาย เด็กที่ไม่ได้เลี้ยงนมแม่ ยิ่งมีโอกาสได้กินน้ำตาลมากขึ้น
และจากการสำรวจเกี่ยวกับเรื่องโภชนาการการรับประทานอาหารที่ส่งผลดีต่อสุขภาพสุขภาพช่องปาก ของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังเจริญราษฎร์พบว่าประมาณร้อยละ19 ของผู้เรียนที่มีด้านโภชนาการเด็กน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ ผอม เริ่มอ้วน อ้วน เตี้ย และปัญหาเกี่ยวกับฟันผุ ประมาณร้อยละ50 ของผู้เรียน ทำให้เกิดปัญหาหรือส่งผลกระทบในหลายด้าน ไม่ว่าจะทำให้ปวดฟัน พูดไม่ชัด เกิดความไม่มั่นใจในการพูด การยิ้ม รวมไปถึงการบดเคี้ยวอาหารไม่สะดวก หรือไม่สามารถรับประทานอาหารหรือผลไม้ที่มีเนื้อแข็ง เช่น แอปเปิ้ล ฝรั่ง แตงกวา ถั่วฝักยาว เป็นต้น
ดังนั้น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังเจริญราษฎร์ จึงมีแนวคิดเรื่องโครงการ “บริโภคปลอดภัย ฟันสวยสดใส ใส่ใจสุขภาพ” ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังเจริญราษฎร์ เพื่อส่งเสริมความรู้ในเรื่องโภชนาการการรับประทานอาหารที่ส่งผลดีต่อสุขภาพและการดูแลสุขภาพปากและฟัน การสอนให้เด็กดูแลสุขภาพปากและฟันอย่างถูกต้องตั้งแต่เด็กเป็นการลงทุนในสุขภาพที่สามารถปันผลให้ได้ตลอดชีวิต ครูและผู้ปกครองสามารถสร้างแบบอย่างที่ดีให้กับเด็ก โดยร่วมมือกับสาธารณสุขอำเภอทุ่งหว้า รพ.สต.บ้านวังตง องค์การบริหารส่วนตำบลนาทอน และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังเจริญราษฎร์ในการส่งเสริมสุขภาพต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการส่งเสริมสุขภาพภาวะโภชนาการเด็กและพัฒนาการเด็กปฐมวัย
- เพื่อให้ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง ได้ความรู้และฝึกทักษะในการดูแลสุขภาพและ พัฒนาการของเด็ก
- เพื่อส่งเสริมให้เด็กรู้จักการแปรงฟันที่ถูกวิธีและตระหนักถึงความสำคัญของการแปรงฟันและรักษาสุขภาพช่องปากของตนเองสามารถนำมาความรู้ใช้ในชีวิตประจำวันได้
- .เพื่อให้ผู้ปกครองและเด็กตระหนักถึงอันตรายจากขนมกรุบกรอบ ของหวานและดูแลเอาใจใส่สุขภาพร่างกายและสุขภาพช่องปากและฟันของเด็ก
- .เพื่อให้เกิดระบบเฝ้าระวังภาวะฟันผุในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอย่างต่อเนื่อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการเด็กปฐมวัย
2. ผู้ปกครองและครูได้ความรู้และฝึกทักษะในการดูแลเด็กเกี่ยวกับสุขภาพและพัฒนาการของเด็ก
3.เด็กรู้จักการแปรงฟันที่ถูกวิธีและตระหนักถึงความสำคัญของการแปรงฟันและรักษาสุขภาพช่องปากของตนเองสามารถนำมาความรู้ใช้ในชีวิตประจำวันได้
4. ผู้ปกครองตระหนักถึงอันตรายจากขนมกรุบกรอบและของหวานและดูแลเอาใจใส่สุขภาพในช่องปากและฟันของเด็ก
5. เกิดระบบเฝ้าระวังภาวะฟันผุในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอย่างต่อเนื่อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ประชุมชี้แจงโครงการ“บริโภคปลอดภัย ฟันสวยสดใส ใส่ใจสุขภาพ” กับผู้ปกครองของกลุ่มเป้าหมาย
วันที่ 2 สิงหาคม 2560กิจกรรมที่ทำ
ประชุมชี้แจงโครงการ“บริโภคปลอดภัย ฟันสวยสดใส ใส่ใจสุขภาพ” กับผู้ปกครองของกลุ่มเป้าหมาย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
บรรลุวัตถุประสงค์
200
0
2. ประชุมชี้แจงครูผู้ดูแลเด็กและคณะกรรมการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเพื่อร่วมกันวางแผนการดำเนินงาน
วันที่ 2 สิงหาคม 2560กิจกรรมที่ทำ
ประชุมชี้แจงครูผู้ดูแลเด็กและคณะกรรมการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเพื่อร่วมกันวางแผนการดำเนินงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ประชุมชี้แจงครูผู้ดูแลเด็กและคณะกรรมการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเพื่อร่วมกันวางแผนการดำเนินงาน
0
0
3. เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยวิทยากรให้ข้อมูลความรู้แก่ผู้ปกครอง เด็ก และผู้ดูแลเด็ก อบรมการดูแลสุขภาพของเด็กและการส่งเสริมพัฒนาการตามวัยเด็กเล็ก
วันที่ 11 สิงหาคม 2560กิจกรรมที่ทำ
เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยวิทยากรให้ข้อมูลความรู้แก่ผู้ปกครอง เด็ก และผู้ดูแลเด็ก อบรมการดูแลสุขภาพของเด็กและการส่งเสริมพัฒนาการตามวัยเด็กเล็ก
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
บรรลุตามวัตถุประสงค์
200
0
4. เจ้าหน้าที่ทันตกรรมจากโรงพยาบาลทุ่งหว้ามาให้ความรู้แก่ผู้ปกครองและเด็กเรื่อง การดูแลสุขภาพปากและฟันและการรับประทานอาหารดีมีประโยชน์สำหรับเด็ก
วันที่ 16 สิงหาคม 2560กิจกรรมที่ทำ
เจ้าหน้าที่ทันตกรรมจากโรงพยาบาลทุ่งหว้ามาให้ความรู้แก่ผู้ปกครองและเด็กเรื่อง การดูแลสุขภาพปากและฟันและการรับประทานอาหารดีมีประโยชน์สำหรับเด็ก
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
บรรลุตามวัตถุประสงค์
200
0
5. กิจกรรม “กินเสร็จแปรง ฟันแข็งแรงทุกคน”
วันที่ 16 สิงหาคม 2560กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรม “กินเสร็จแปรง ฟันแข็งแรงทุกคน”
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กิจกรรม “กินเสร็จแปรง ฟันแข็งแรงทุกคน”
95
0
6. กิจกรรม“น้ำหนัก-ส่วนสูง สมส่วน”
วันที่ 17 สิงหาคม 2560กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรม“น้ำหนัก-ส่วนสูง สมส่วน”
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กิจกรรม“น้ำหนัก-ส่วนสูง สมส่วน”
0
0
7. กิจกรรม “ลด-เลิก ขนมกรุบกรอบ”
วันที่ 20 สิงหาคม 2560กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรม “ลด-เลิก ขนมกรุบกรอบ”
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กิจกรรม “ลด-เลิก ขนมกรุบกรอบ”
0
0
8. เจ้าหน้าที่รพ.สต.บ้านวังตงให้ความรู้แก่เด็กในการดูแลสุขภาพช่องปากและตรวจสภาวะช่องปากเด็ก
วันที่ 21 สิงหาคม 2560กิจกรรมที่ทำ
เจ้าหน้าที่รพ.สต.บ้านวังตงให้ความรู้แก่เด็กในการดูแลสุขภาพช่องปากและตรวจสภาวะช่องปากเด็ก
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
บรรลุตามวัตถุประสงค์
100
0
9. กิจกรรม “บ๊ายบ่าย ขวดนม ”
วันที่ 21 สิงหาคม 2560กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรม “บ๊ายบ่าย ขวดนม ”
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กิจกรรม “บ๊ายบ่าย ขวดนม ”
0
0
10. กิจกรรม “ดื่มนมจืดทุกวัน ฟ.ฟันแข็งแรง”
วันที่ 21 สิงหาคม 2560กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรม “ดื่มนมจืดทุกวัน ฟ.ฟันแข็งแรง”
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กิจกรรม “ดื่มนมจืดทุกวัน ฟ.ฟันแข็งแรง”
0
0
11. กิจกรรมจัดทำตัวอย่างอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการต่อเด็กอนุบาล ๓-5 ขวบ
วันที่ 22 สิงหาคม 2560กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรมจัดทำตัวอย่างอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการต่อเด็กอนุบาล ๓-5 ขวบ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กิจกรรมจัดทำตัวอย่างอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการต่อเด็กอนุบาล ๓-5 ขวบ
0
0
12. ประเมินโครงการ
วันที่ 31 สิงหาคม 2560กิจกรรมที่ทำ
ประเมินโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ประเมินโครงการ
0
0
13. เวทีรายงานผลการจัดกิจกรรม“บริโภคปลอดภัย ฟันสวยสดใส ใส่ใจสุขภาพ” เมื่อสิ้นสุดโครงการ
วันที่ 8 กันยายน 2560กิจกรรมที่ทำ
เวทีรายงานผลการจัดกิจกรรม“บริโภคปลอดภัย ฟันสวยสดใส ใส่ใจสุขภาพ” เมื่อสิ้นสุดโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เวทีรายงานผลการจัดกิจกรรม“บริโภคปลอดภัย ฟันสวยสดใส ใส่ใจสุขภาพ” เมื่อสิ้นสุดโครงการ
2,000
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.เพื่อให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการส่งเสริมสุขภาพภาวะโภชนาการเด็กและพัฒนาการเด็กปฐมวัย
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองเด็ก ได้รับความรู้เกี่ยวกับการดูแลและส่งเสริมสุขภาพอนามัยของเด็กปฐมวัยทุกคน
2
เพื่อให้ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง ได้ความรู้และฝึกทักษะในการดูแลสุขภาพและ พัฒนาการของเด็ก
ตัวชี้วัด : -ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง ได้ความรู้และส่งเสริมการดูแลสุขภาพและ การส่งเสริมพัฒนาการของเด็ก ร้อยละ๘๐
3
เพื่อส่งเสริมให้เด็กรู้จักการแปรงฟันที่ถูกวิธีและตระหนักถึงความสำคัญของการแปรงฟันและรักษาสุขภาพช่องปากของตนเองสามารถนำมาความรู้ใช้ในชีวิตประจำวันได้
ตัวชี้วัด : เด็กรู้จักการแปรงฟันที่ถูกวิธีและตระหนักถึงความสำคัญของการแปรงฟัน ร้อยละ๘๐
4
.เพื่อให้ผู้ปกครองและเด็กตระหนักถึงอันตรายจากขนมกรุบกรอบ ของหวานและดูแลเอาใจใส่สุขภาพร่างกายและสุขภาพช่องปากและฟันของเด็ก
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองและเด็กตระหนักถึงอันตรายจากขนมกรุบกรอบและของหวานและดูแลเอาใจใส่สุขภาพร่างกายและสุขภาพช่องปากและฟันของเด็ก
ร้อยละ๘๐
5
.เพื่อให้เกิดระบบเฝ้าระวังภาวะฟันผุในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : มีระบบเฝ้าระวังภาวะฟันผุในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอย่างต่อเนื่อง
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการส่งเสริมสุขภาพภาวะโภชนาการเด็กและพัฒนาการเด็กปฐมวัย (2) เพื่อให้ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง ได้ความรู้และฝึกทักษะในการดูแลสุขภาพและ พัฒนาการของเด็ก (3) เพื่อส่งเสริมให้เด็กรู้จักการแปรงฟันที่ถูกวิธีและตระหนักถึงความสำคัญของการแปรงฟันและรักษาสุขภาพช่องปากของตนเองสามารถนำมาความรู้ใช้ในชีวิตประจำวันได้ (4) .เพื่อให้ผู้ปกครองและเด็กตระหนักถึงอันตรายจากขนมกรุบกรอบ ของหวานและดูแลเอาใจใส่สุขภาพร่างกายและสุขภาพช่องปากและฟันของเด็ก (5) .เพื่อให้เกิดระบบเฝ้าระวังภาวะฟันผุในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอย่างต่อเนื่อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการบริโภคปลอดภัย ฟันสวยสดใส ใส่ใจสุขภาพ จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 60-L5294-3-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางวิไลวรรณ อย่างดี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการบริโภคปลอดภัย ฟันสวยสดใส ใส่ใจสุขภาพ ”
ศพด บ้านวังเจริญราษฏร์ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางวิไลวรรณ อย่างดี
กันยายน 2560
ที่อยู่ ศพด บ้านวังเจริญราษฏร์ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 60-L5294-3-03 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการบริโภคปลอดภัย ฟันสวยสดใส ใส่ใจสุขภาพ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ศพด บ้านวังเจริญราษฏร์ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการบริโภคปลอดภัย ฟันสวยสดใส ใส่ใจสุขภาพ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการบริโภคปลอดภัย ฟันสวยสดใส ใส่ใจสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ศพด บ้านวังเจริญราษฏร์ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 60-L5294-3-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 54,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
อาหารคือสิ่งที่มีประโยชน์ต่อร่างกายและสมองเมื่อรับประทานเข้าไปจะนำไปเลี้ยงสมองและส่วนต่างๆของร่างกาย การรับประทานอาหารที่มีประโยชน์จะต้องรัประทานให้ครบ๕หมู่ การได้รับสารอาหารที่ครบถ้วนและเพียงพอต่อร่างกายเด็กก็เจริญเติบโตได้อย่างเต็มศักยภาพ แต่ถ้าน้ำหนักและส่วนสูงไม่ตามเกณฑ์มาตรฐานสาธารณสุข เด็กร่างกายอ่อนแอ เจ็บไข้ได้ป่วยได้ง่าย ซึ่งมีปัจจัยต่างๆ ได้แก่การบริโภคอาหารของเด็กไม่ถูกต้องตามโภชนาการ โดยเฉพาะขนมกรุบกรอบการรับประทานอาหารที่ไม่ถูกสุขลักษณะ ถ้าหากรับประทานไม่ถูกสัดส่วนก็จะนำไปสู่การเกิดโรคเหงือกและฟันผุได้ อาหารที่มีคาร์โบไฮเดรต น้ำตาล และแป้งสูง จะเป็นปัจจัยสำคัญในการเกิดกรดแบคทีเรียที่ไปทำลายเคลือบฟัน ในที่สุดแล้ว กรดเหล่านี้ก็จะทำให้เคลือบฟันเสื่อม และทำให้เกิดฟันผุสุขภาพในช่องปากนั้นมีความสัมพันธ์กับสุขภาพร่างกาย การดูแลรักษาสุขภาพช่องปากให้ดีจึงมีผลต่อการมีสุขภาพกายที่ดีด้วยปัญหาสุขภาพในช่องปากมีหลายสาเหตุ โรคและความผิดปกติในช่องปากของเด็กเล็กมีหลายประการทั้งนี้อาจมาจากพฤติกรรมด้านสุขภาพของเด็กนักเรียนที่เสี่ยงต่อการป่วยด้วยโรคในช่องปาก แต่ปัญหาที่ชัดเจนที่สุดคือโรคฟันผุ พบว่า โดยมากแล้วเด็กเป็นโรคฟันผุตั้งแต่ก่อนอายุ ๑ ขวบ และเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วมากในช่วงเด็กอายุ ๑-๓ ขวบเนื่องจาก พฤติกรรมการการบริโภคขนมหวานเหนียวติดฟัน พฤติกรรมการกินนมจากขวดที่เป็นสาเหตุของโรคฟันผุแต่ไม่คิดว่านมที่ตกค้างในช่องปาก ขณะที่เด็กนอนหลับจะเป็นผลให้เกิดโรคฟันผุ และขาดการดูแลเอาใจใส่ของเด็กนักเรียนและผู้ปกครองเด็กในการดูแลสุขภาพช่องปาก และการที่เด็กมีฟันผุผู้ใหญ่กลับคิดว่าเป็นเรื่องธรรมดา แต่จริงแล้วฟันผุเป็นเรื่องอันตราย เพราะเด็กมีภูมิต้านทานน้อย แม้จะไม่อันตรายถึงแก่ชีวิตแต่ก็ทำให้เด็กเจ็บปวดทรมาน เสียสุขภาพ
สำหรับประเทศไทยโรคฟันผุในเด็กเล็กยังคงเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะเด็กในเขตชนบทสาเหตุการเกิดโรคฟันผุส่วนหนึ่งมาจากการที่เด็กรับประทานอาหารที่มีรสหวาน และการติดหวานของเด็ก ซึ่งในปัจจุบันพบว่าคนไทยบริโภคน้ำตาลเฉลี่ยคนละ ๓๑.๑ กิโลกรัมต่อปี เพิ่มมากขึ้นกว่าเมื่อ ๑๐ ปีที่แล้วและมากกว่ามาตรฐานที่ควรบริโภคถึงเกือบ ๓ เท่า การศึกษาในเด็กเล็กที่มารับวัคซีนโรงพยาบาลตำรวจ เมื่อ ปี พ.ศ. ๒๕๔๑ พบว่าคุณแม่กว่าร้อยละ ๑๗ เลือก นมรสหวานให้แก่ลูก และการศึกษาในจังหวัดแห่งหนึ่งในปี พ.ศ. ๒๕๔๓ พบว่า ผู้ปกครองถึงกว่าร้อยละ ๖๒ เติมน้ำตาลรูปแบบต่างๆ เพิ่มไปในนมให้เด็ก รากฐานสำคัญที่สุดหนึ่งของการติดหวานอยู่ที่แบบแผนการบริโภคอาหารและเครื่องดื่มของเด็กตั้งแต่ช่วงแรกของชีวิตแบบแผนการบริโภคของเด็กได้ถูกสร้างขึ้นตั้งแต่อายุ๖ เดือนซึ่งได้รับอิทธิพลจากแม่และผู้เลี้ยงดูเป็นสำคัญ การสัมภาษณ์ทรรศนะของพ่อแม่เกี่ยวกับการดื่มนมของเด็ก พ่อแม่มักให้ความสำคัญกับการให้เด็กได้ดื่มนมมากๆ และคิดว่าความหวานช่วยให้เด็กดื่มนมได้มากขึ้น ซึ่งพ่อแม่ให้ความสำคัญมากกว่าผลเสียต่อสุขภาพด้านอื่น การทำให้เด็กคุ้นเคยกับความหวานตั้งแต่ทารกเป็นการเพาะเชื้อการติดหวานที่มีประสิทธิภาพยิ่งเพราะเมื่อเด็กโตขึ้นและเริ่มจะมีส่วนในการเลือกอาหารเองได้แล้วเด็กก็จะเลือกบริโภคอาหารหวานและจะเพิ่มความหวานมากยิ่งขึ้นเรื่อยๆไปจนโต การห้ามจะเป็นไปได้ยาก เพราะโดยธรรมชาติเด็กยิ่งชอบของหวานอยู่แล้ว
พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงเด็กจึงมีส่วนสำคัญที่สุด ในการปลูกฝังพฤติกรรมดังกล่าว และจะมีผลไปจนถึงบริโภคนิสัยในอนาคต การควบคุมอาหารหวานของเด็กนับเป็นเรื่องที่น่าหนักใจสำหรับผู้ปกครอง ยิ่งเด็กที่เลี้ยงดูโดยปู่ย่าตายาย เด็กที่ไม่ได้เลี้ยงนมแม่ ยิ่งมีโอกาสได้กินน้ำตาลมากขึ้น
และจากการสำรวจเกี่ยวกับเรื่องโภชนาการการรับประทานอาหารที่ส่งผลดีต่อสุขภาพสุขภาพช่องปาก ของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังเจริญราษฎร์พบว่าประมาณร้อยละ19 ของผู้เรียนที่มีด้านโภชนาการเด็กน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ ผอม เริ่มอ้วน อ้วน เตี้ย และปัญหาเกี่ยวกับฟันผุ ประมาณร้อยละ50 ของผู้เรียน ทำให้เกิดปัญหาหรือส่งผลกระทบในหลายด้าน ไม่ว่าจะทำให้ปวดฟัน พูดไม่ชัด เกิดความไม่มั่นใจในการพูด การยิ้ม รวมไปถึงการบดเคี้ยวอาหารไม่สะดวก หรือไม่สามารถรับประทานอาหารหรือผลไม้ที่มีเนื้อแข็ง เช่น แอปเปิ้ล ฝรั่ง แตงกวา ถั่วฝักยาว เป็นต้น
ดังนั้น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังเจริญราษฎร์ จึงมีแนวคิดเรื่องโครงการ “บริโภคปลอดภัย ฟันสวยสดใส ใส่ใจสุขภาพ” ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังเจริญราษฎร์ เพื่อส่งเสริมความรู้ในเรื่องโภชนาการการรับประทานอาหารที่ส่งผลดีต่อสุขภาพและการดูแลสุขภาพปากและฟัน การสอนให้เด็กดูแลสุขภาพปากและฟันอย่างถูกต้องตั้งแต่เด็กเป็นการลงทุนในสุขภาพที่สามารถปันผลให้ได้ตลอดชีวิต ครูและผู้ปกครองสามารถสร้างแบบอย่างที่ดีให้กับเด็ก โดยร่วมมือกับสาธารณสุขอำเภอทุ่งหว้า รพ.สต.บ้านวังตง องค์การบริหารส่วนตำบลนาทอน และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังเจริญราษฎร์ในการส่งเสริมสุขภาพต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการส่งเสริมสุขภาพภาวะโภชนาการเด็กและพัฒนาการเด็กปฐมวัย
- เพื่อให้ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง ได้ความรู้และฝึกทักษะในการดูแลสุขภาพและ พัฒนาการของเด็ก
- เพื่อส่งเสริมให้เด็กรู้จักการแปรงฟันที่ถูกวิธีและตระหนักถึงความสำคัญของการแปรงฟันและรักษาสุขภาพช่องปากของตนเองสามารถนำมาความรู้ใช้ในชีวิตประจำวันได้
- .เพื่อให้ผู้ปกครองและเด็กตระหนักถึงอันตรายจากขนมกรุบกรอบ ของหวานและดูแลเอาใจใส่สุขภาพร่างกายและสุขภาพช่องปากและฟันของเด็ก
- .เพื่อให้เกิดระบบเฝ้าระวังภาวะฟันผุในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอย่างต่อเนื่อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการเด็กปฐมวัย
2. ผู้ปกครองและครูได้ความรู้และฝึกทักษะในการดูแลเด็กเกี่ยวกับสุขภาพและพัฒนาการของเด็ก
3.เด็กรู้จักการแปรงฟันที่ถูกวิธีและตระหนักถึงความสำคัญของการแปรงฟันและรักษาสุขภาพช่องปากของตนเองสามารถนำมาความรู้ใช้ในชีวิตประจำวันได้
4. ผู้ปกครองตระหนักถึงอันตรายจากขนมกรุบกรอบและของหวานและดูแลเอาใจใส่สุขภาพในช่องปากและฟันของเด็ก
5. เกิดระบบเฝ้าระวังภาวะฟันผุในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอย่างต่อเนื่อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ประชุมชี้แจงโครงการ“บริโภคปลอดภัย ฟันสวยสดใส ใส่ใจสุขภาพ” กับผู้ปกครองของกลุ่มเป้าหมาย |
||
วันที่ 2 สิงหาคม 2560กิจกรรมที่ทำประชุมชี้แจงโครงการ“บริโภคปลอดภัย ฟันสวยสดใส ใส่ใจสุขภาพ” กับผู้ปกครองของกลุ่มเป้าหมาย ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นบรรลุวัตถุประสงค์
|
200 | 0 |
2. ประชุมชี้แจงครูผู้ดูแลเด็กและคณะกรรมการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเพื่อร่วมกันวางแผนการดำเนินงาน |
||
วันที่ 2 สิงหาคม 2560กิจกรรมที่ทำประชุมชี้แจงครูผู้ดูแลเด็กและคณะกรรมการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเพื่อร่วมกันวางแผนการดำเนินงาน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นประชุมชี้แจงครูผู้ดูแลเด็กและคณะกรรมการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเพื่อร่วมกันวางแผนการดำเนินงาน
|
0 | 0 |
3. เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยวิทยากรให้ข้อมูลความรู้แก่ผู้ปกครอง เด็ก และผู้ดูแลเด็ก อบรมการดูแลสุขภาพของเด็กและการส่งเสริมพัฒนาการตามวัยเด็กเล็ก |
||
วันที่ 11 สิงหาคม 2560กิจกรรมที่ทำเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยวิทยากรให้ข้อมูลความรู้แก่ผู้ปกครอง เด็ก และผู้ดูแลเด็ก อบรมการดูแลสุขภาพของเด็กและการส่งเสริมพัฒนาการตามวัยเด็กเล็ก ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นบรรลุตามวัตถุประสงค์
|
200 | 0 |
4. เจ้าหน้าที่ทันตกรรมจากโรงพยาบาลทุ่งหว้ามาให้ความรู้แก่ผู้ปกครองและเด็กเรื่อง การดูแลสุขภาพปากและฟันและการรับประทานอาหารดีมีประโยชน์สำหรับเด็ก |
||
วันที่ 16 สิงหาคม 2560กิจกรรมที่ทำเจ้าหน้าที่ทันตกรรมจากโรงพยาบาลทุ่งหว้ามาให้ความรู้แก่ผู้ปกครองและเด็กเรื่อง การดูแลสุขภาพปากและฟันและการรับประทานอาหารดีมีประโยชน์สำหรับเด็ก ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นบรรลุตามวัตถุประสงค์
|
200 | 0 |
5. กิจกรรม “กินเสร็จแปรง ฟันแข็งแรงทุกคน” |
||
วันที่ 16 สิงหาคม 2560กิจกรรมที่ทำกิจกรรม “กินเสร็จแปรง ฟันแข็งแรงทุกคน” ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกิจกรรม “กินเสร็จแปรง ฟันแข็งแรงทุกคน”
|
95 | 0 |
6. กิจกรรม“น้ำหนัก-ส่วนสูง สมส่วน” |
||
วันที่ 17 สิงหาคม 2560กิจกรรมที่ทำกิจกรรม“น้ำหนัก-ส่วนสูง สมส่วน” ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกิจกรรม“น้ำหนัก-ส่วนสูง สมส่วน”
|
0 | 0 |
7. กิจกรรม “ลด-เลิก ขนมกรุบกรอบ” |
||
วันที่ 20 สิงหาคม 2560กิจกรรมที่ทำกิจกรรม “ลด-เลิก ขนมกรุบกรอบ” ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกิจกรรม “ลด-เลิก ขนมกรุบกรอบ”
|
0 | 0 |
8. เจ้าหน้าที่รพ.สต.บ้านวังตงให้ความรู้แก่เด็กในการดูแลสุขภาพช่องปากและตรวจสภาวะช่องปากเด็ก |
||
วันที่ 21 สิงหาคม 2560กิจกรรมที่ทำเจ้าหน้าที่รพ.สต.บ้านวังตงให้ความรู้แก่เด็กในการดูแลสุขภาพช่องปากและตรวจสภาวะช่องปากเด็ก ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นบรรลุตามวัตถุประสงค์
|
100 | 0 |
9. กิจกรรม “บ๊ายบ่าย ขวดนม ” |
||
วันที่ 21 สิงหาคม 2560กิจกรรมที่ทำกิจกรรม “บ๊ายบ่าย ขวดนม ” ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกิจกรรม “บ๊ายบ่าย ขวดนม ”
|
0 | 0 |
10. กิจกรรม “ดื่มนมจืดทุกวัน ฟ.ฟันแข็งแรง” |
||
วันที่ 21 สิงหาคม 2560กิจกรรมที่ทำกิจกรรม “ดื่มนมจืดทุกวัน ฟ.ฟันแข็งแรง” ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกิจกรรม “ดื่มนมจืดทุกวัน ฟ.ฟันแข็งแรง”
|
0 | 0 |
11. กิจกรรมจัดทำตัวอย่างอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการต่อเด็กอนุบาล ๓-5 ขวบ |
||
วันที่ 22 สิงหาคม 2560กิจกรรมที่ทำกิจกรรมจัดทำตัวอย่างอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการต่อเด็กอนุบาล ๓-5 ขวบ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกิจกรรมจัดทำตัวอย่างอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการต่อเด็กอนุบาล ๓-5 ขวบ
|
0 | 0 |
12. ประเมินโครงการ |
||
วันที่ 31 สิงหาคม 2560กิจกรรมที่ทำประเมินโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นประเมินโครงการ
|
0 | 0 |
13. เวทีรายงานผลการจัดกิจกรรม“บริโภคปลอดภัย ฟันสวยสดใส ใส่ใจสุขภาพ” เมื่อสิ้นสุดโครงการ |
||
วันที่ 8 กันยายน 2560กิจกรรมที่ทำเวทีรายงานผลการจัดกิจกรรม“บริโภคปลอดภัย ฟันสวยสดใส ใส่ใจสุขภาพ” เมื่อสิ้นสุดโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเวทีรายงานผลการจัดกิจกรรม“บริโภคปลอดภัย ฟันสวยสดใส ใส่ใจสุขภาพ” เมื่อสิ้นสุดโครงการ
|
2,000 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการส่งเสริมสุขภาพภาวะโภชนาการเด็กและพัฒนาการเด็กปฐมวัย ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองเด็ก ได้รับความรู้เกี่ยวกับการดูแลและส่งเสริมสุขภาพอนามัยของเด็กปฐมวัยทุกคน |
|
|||
2 | เพื่อให้ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง ได้ความรู้และฝึกทักษะในการดูแลสุขภาพและ พัฒนาการของเด็ก ตัวชี้วัด : -ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง ได้ความรู้และส่งเสริมการดูแลสุขภาพและ การส่งเสริมพัฒนาการของเด็ก ร้อยละ๘๐ |
|
|||
3 | เพื่อส่งเสริมให้เด็กรู้จักการแปรงฟันที่ถูกวิธีและตระหนักถึงความสำคัญของการแปรงฟันและรักษาสุขภาพช่องปากของตนเองสามารถนำมาความรู้ใช้ในชีวิตประจำวันได้ ตัวชี้วัด : เด็กรู้จักการแปรงฟันที่ถูกวิธีและตระหนักถึงความสำคัญของการแปรงฟัน ร้อยละ๘๐ |
|
|||
4 | .เพื่อให้ผู้ปกครองและเด็กตระหนักถึงอันตรายจากขนมกรุบกรอบ ของหวานและดูแลเอาใจใส่สุขภาพร่างกายและสุขภาพช่องปากและฟันของเด็ก ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองและเด็กตระหนักถึงอันตรายจากขนมกรุบกรอบและของหวานและดูแลเอาใจใส่สุขภาพร่างกายและสุขภาพช่องปากและฟันของเด็ก ร้อยละ๘๐ |
|
|||
5 | .เพื่อให้เกิดระบบเฝ้าระวังภาวะฟันผุในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอย่างต่อเนื่อง ตัวชี้วัด : มีระบบเฝ้าระวังภาวะฟันผุในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอย่างต่อเนื่อง |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการส่งเสริมสุขภาพภาวะโภชนาการเด็กและพัฒนาการเด็กปฐมวัย (2) เพื่อให้ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง ได้ความรู้และฝึกทักษะในการดูแลสุขภาพและ พัฒนาการของเด็ก (3) เพื่อส่งเสริมให้เด็กรู้จักการแปรงฟันที่ถูกวิธีและตระหนักถึงความสำคัญของการแปรงฟันและรักษาสุขภาพช่องปากของตนเองสามารถนำมาความรู้ใช้ในชีวิตประจำวันได้ (4) .เพื่อให้ผู้ปกครองและเด็กตระหนักถึงอันตรายจากขนมกรุบกรอบ ของหวานและดูแลเอาใจใส่สุขภาพร่างกายและสุขภาพช่องปากและฟันของเด็ก (5) .เพื่อให้เกิดระบบเฝ้าระวังภาวะฟันผุในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอย่างต่อเนื่อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการบริโภคปลอดภัย ฟันสวยสดใส ใส่ใจสุขภาพ จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 60-L5294-3-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางวิไลวรรณ อย่างดี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......