กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต


“ โครงการให้ความรู้การแช่เท้าด้วยน้ำต้มสมุนไพร ประจำปีงบประมาณ 2562 ”

ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายภาษิต เจ๊ะแน

ชื่อโครงการ โครงการให้ความรู้การแช่เท้าด้วยน้ำต้มสมุนไพร ประจำปีงบประมาณ 2562

ที่อยู่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L2479-2-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการให้ความรู้การแช่เท้าด้วยน้ำต้มสมุนไพร ประจำปีงบประมาณ 2562 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการให้ความรู้การแช่เท้าด้วยน้ำต้มสมุนไพร ประจำปีงบประมาณ 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการให้ความรู้การแช่เท้าด้วยน้ำต้มสมุนไพร ประจำปีงบประมาณ 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 62-L2479-2-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เท้าและข้อเท้าของผู้สูงอายุก็เช่นเดียวกับอวัยวะอื่นๆ คือย่อมมีการเสื่อมไปตามวัยที่เพิ่มขึ้นโดยโรคเท้าและข้อเท้ามักจะเกิดจากความเสื่อมของกระดูกและเส้นเอ็นส่งผลให้การทำงานลดลงการเคลื่อนไหวได้ลำบากมากขึ้นส่งผลให้ความสามารถในการเดินและช่วยเหลือตัวเองลดลงโดยอาจจะมีสาเหตุมากจาก 2 โรคเท้าที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ ดังนี้

โรคพังผืดใต้ฝ่าเท้าอักเสบ โรคพังผืดใต้ฝ่าเท้าอักเสบ(Plantar Fasciitis)คือภาวะที่มีการอักเสบของพังผืดใต้ฝ่าเท้าเป็นโรคที่พบบ่อยโรคหนึ่งส่วนใหญ่พบในผู้ที่มีอายุระหว่าง40-70 ปีโดยพบในเพศหญิงมากกว่าเพศชายและส่วนใหญ่มีน้ำหนักตัวเกินมาตรฐานสาเหตุ เกิดจากการอักเสบของพังผืดใต้ฝ่าเท้าอันเนื่องมาจากการบาดเจ็บของพังผืดบริเวณจุดเกาะที่กระดูกส้นเท้าโดยการบาดเจ็บนี้มักจะเป็นการบาดเจ็บเล็กๆน้อยๆ ที่สะสมมานานมักพบร่วมกับการมีเอ็นร้อยหวายตึงซึ่งส่วนใหญ่มีผลมาจากการใส่รองเท้าส้นสูงเป็นประจำขาดการออกกำลังกายหรือการออกกำลังกายอย่างไม่เหมาะสม อาการแสดงส่วนใหญ่มีอาการปวดใต้ส้นเท้าโดยจะปวดมากในช่วงเช้าโดยเฉพาะก้าวแรกที่ลงจากเตียงหรือเมื่อยืนลงน้ำหนักแต่เมื่อเดินไประยะหนึ่งอาการปวดมักจะดีขึ้นหากการอักเสบรุนแรงขึ้นอาการปวดอาจเป็นมากขึ้นหลังจากยืนหรือเดินมากๆได้

โรคนิ้วหัวแม่เท้าโก่ง โรคนิ้วหัวแม่เท้าโก่ง (Hallux Valgus) ได้แก่ภาวะที่มีการโก่งผิดรูปของนิ้วหัวแม่เท้าโดยมักโก่งออกด้านนอกทำให้มีส่วนนูนที่ด้านในของเท้าพบได้บ่อยในประชาชนวัยทำงานที่มีอายุระหว่าง 40-70 ปีพบในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย มักพบร่วมกับโรคเท้าแบนสาเหตุที่แท้จริงยังไม่ทราบเชื่อว่าเกิดจากการใส่รองเท้าที่บีบแน่นด้านหน้าหรือเมื่อเกิดเท้าแบน นิ้วหัวแม่เท้าจึงบิดเข้าด้านในมากกว่าปกติในบางครั้งหรืออาจเกิดจากกรรมพันธุ์ อาการของโรคปวดด้านในรองเท้า ตรวจตำแหน่งที่มีกระดูกนูน บางครั้งมีชาออกปลายนิ้วหัวแม่เท้าถ้านิ้วโก่งมาก นิ้วเท้าที่สองจะถูกเบียด ขี่นิ้วหัวแม่เท้าทำให้ใส่รองเท้าลำบาก สุขภาพของเราขึ้นอยู่กับการไหลเวียนที่ดีของกระแสเลือดน้ำเหลืองและกระแสประสาทร่างกายของเราเหมือนเครือข่ายการไหลเวียนที่ซับซ้อนและละเอียดอ่อนทุกส่วนเชื่อมโยงประสานงานกันโดยเฉพาะเท้าเป็นช่องทางไหลเวียนขนาดเล็กเมื่อเทียบกับร่างกายโอกาสที่จะอุดตันจากของเสียต่างๆจึงเกิดขึ้นได้ง่ายหากไม่ขยับขยายช่องทางที่อุดตันก็จะส่งผลกระทบต่ออวัยวะต่างๆเป็นลำดับต่อเนื่องกันไปจนส่งผลเสียต่อสุขภาพได้การแช่เท้าในน้ำร้อนมีผลในการเร่งให้เลือดลมเดินคล่องเส้นเอ็นแผ่ขยายจึงช่วยบำรุงอวัยวะภายในที่ฝ่าเท้าคนเรามีเส้นโลหิตกระจายกันมากมายการแช่เท้าในน้ำร้อนจะทำให้เส้นโลหิตฝอยขยายตัวกระตุ้นให้โลหิตหมุนเวียนเร็วขึ้นสนองสิ่งบำรุงให้แก่เท้ามากขึ้นคลายความตึงเครียดของกล้ามเนื้อส่วนขาขจัดความเมื่อยล้าได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เกิดนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
  2. เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพรในชุมชน
  3. เพื่อส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดประชุม/วางแผน คณะทำงาน
  2. กิจกรรมให้ความรู้และปฏิบัติการแช่เท้า

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ 40
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.จำนวนผู้สูงอายุได้รับการตรวจประเมินเท้าเบื้องต้น 2.จำนวนผู้สูงอายุมีความรู้เรื่องการดูแลเท้าเบื้องต้น ก่อนและหลังการอบรม มากกว่าร้อยละ 80 3.จำนวนผู้สูงอายุได้รับการตรวจเท้าและมีความพึงพอใจต่อนวัตกรรมการดูแลเท้า 4.ส่งเสริมการใช้สมุนไพรในชุมชน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดประชุม/วางแผน คณะทำงาน

วันที่ 25 เมษายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

จัดประชุมกรรมการกลุ่มเพื่อวางแผนการดำเนินกิจกรรมที่วางไว้ตามโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้แผนงานการดำเนินกิจกรรม

 

20 0

2. กิจกรรมให้ความรู้และปฏิบัติการแช่เท้า

วันที่ 15 พฤษภาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

บรรยายให้ความรู้ประโยชน์ของสมุนไพรพร้อมสรรพคุณในการบรรเทาลดอาการปวดเมื่อยชาของกล้ามเนื้อและผิวหน้ง

สาธิต  การต้มน้ำด้วยสมุนไพรพร้อมการทดลองแช่เท้าของผู้เข้าร่วมโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้รับรู้คุณประโยชน์ของสมุนไพรในการบำบัดรักษาอาการปวดเมื่อยด้วยตนเอง

 

40 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เกิดนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : ร้อยละสถานที่หรือพื้นที่สาธารณะที่มีสภาพแวดล้อมเอื้อต่อการใช้ชีวิตของผู้สูงอายุ
60.00 60.00

 

2 เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพรในชุมชน
ตัวชี้วัด : ประชาชนในชุมชนมีการใช้สมุนไพรเพิ่มขึ้น
60.00 60.00

 

3 เพื่อส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุสามารถดูแลสุขภาพเพิ่มขึ้น
60.00 60.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ 40
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เกิดนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ (2) เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพรในชุมชน (3) เพื่อส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดประชุม/วางแผน คณะทำงาน (2) กิจกรรมให้ความรู้และปฏิบัติการแช่เท้า

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการให้ความรู้การแช่เท้าด้วยน้ำต้มสมุนไพร ประจำปีงบประมาณ 2562 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L2479-2-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายภาษิต เจ๊ะแน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด