กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลฉลุง


“ โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย(โรงเรียนพ่อ แม่) ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุลญันนะห์ ”

ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางสาวรอรำล๊ะ หมาดสา

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย(โรงเรียนพ่อ แม่) ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุลญันนะห์

ที่อยู่ ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-L7580-3-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 กรกฎาคม 2562 ถึง 15 สิงหาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย(โรงเรียนพ่อ แม่) ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุลญันนะห์ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลฉลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย(โรงเรียนพ่อ แม่) ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุลญันนะห์



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย(โรงเรียนพ่อ แม่) ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุลญันนะห์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 62-L7580-3-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 กรกฎาคม 2562 - 15 สิงหาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลฉลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในแต่ละปีประเทศไทยมีเด็กเกิดใหม่กว่า 7 แสนคน ทำให้มีเด็กก่อนวัยเรียนที่มีอายุต่ำกว่า 5 ปี เกือบ 4 ล้านคน จำนวนนี้ครึ่งหนึ่งเป็นเด็กอายุระหว่าง 2 ปีถึง 3 ปี ร่วมกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมปัจจุบัน ทำให้สภาพครอบครัวเป็นครอบครัวเป็นครอบครัวเดี่ยว พ่อแม่หรือผู้ปกครองเด็กต้องทำงานนอกบ้านไม่สามารถเลี้ยงดูบุตรหลานของตนเองในช่วงเวลากลางวัน เด็กกลุ่มนี้จึงถูกนำไปฝากเลี้ยงในศูนย์เด็กเล็กและโรงเรียนอนุบาลจำนวนมาก ซึ่งเป็นสถานที่ๆอยู่ร่วมกับเด็กจำนวนมาก ผลที่ตามมาคือศูนย์เด็กเล็กและโรงเรียนอนุบาลจึงเป็นสถานที่ๆเด้กจำนวนมากอาศัยอยู่ร่วมกัน เมื่อเด็กคนใดเจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อ ซึ่งการเจ็บป่วยด้วยดรคติดต่อนี้จะแพร่กระจ่ายไปสู่เด็กคนอื่นๆได้ง่ายและรวดเร็วทำให้เด็กต้องหยุดเรียนจำนวนมาก ติดต่อกันเป็นระยะเวลาหลายวันหรือแม้กระทั่งปิดโรงเรียนชั่วคราว เพื่อทำความสะอาดและเพื่อลดปัจจัยที่นำไปสู่การระบาดมากยิ่งขึ้น อีกทั้งเด็กปฐมวัย เป็นวัยที่ อยากรู้ อยากเห็น อยากลอง ชอบเลียนแบบ ช่างจดจำ และเป็นวัยที่เริ่ม ช่วยเหลือตนเองได้ ความต้านทานโรคต่ำ ซึ่งสามารถที่จะติดเชื้อต่างๆได้ง่าย         จากสถานการณ์ดังกล่าวศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุลญันนะห์ได้ตระหนักและมองเห็นความสำคัญของปัญหาข้างต้นดังกล่าวข้างต้นหากไม่ดำเนินการป้องกันและแก้ไขเร่งด่วน จะส่งผลต่อพัฒนาการทั้งในด้านสมอง ร่างกายและจิตใจของเด็กปฐมวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุลญันนะห์จึงได้ร่วมมือกับผู้ปกครองจัดทำโครงการเฝ้าระวังส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย(โรงเรียน พ่อ แม่) เพื่อเป็นการให้ความรู้ความเข้าใจแก่ผู้ปกครอง ในการป้องกัน เฝ้าระวังรักษาสุขภาพบุตรหลานของตนเองได้อย่างถูกต้อง อนึ่งการดำเนินงานโครงการดังกล่าวจะส่งผลให้นักเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุลญันนะห์ประจำปีการศึกษา 2561 มีคุณภาพทางด้านร่างกาย ด้านจิตใจ-อารมณ์ ด้านสังคม และด้านสติปัญญาที่ดี สมวัยต่อไป ซึ่งผลจากการจัดโครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย(โรงเรียน พ่อ แม่) ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุลญันนะห์ในปีการศึกษา 2561 ที่ผ่านมาผู้ปกครองเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุลญันนะห์มีความรู้ความเข้าใจในการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยเพิ่มมากขึ้นอัตราการเจ็บป่วยลดลงและเด็กนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุลญันนะห์มีภาวะโภชนาการที่ดีขึ้น           ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุลญันนะห์จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย(โรงเรียน พ่อ แม่ )เพื่อเป็นผู้ดูแลนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุลญันนะห์ประจำปีการศึกษา 2561 อย่างต่อเนื่องและเพื่อรองรับนักเรียนใหม่ในปีการศึกษา 2562 โดยจัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการในการให้ความรู้และเพิ่มทักษะในการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการปฐมวัย มีความรู้ในการคัดเลือกอาหารและเตรียมอาหารให้กับเด็กถูกต้องตามหลักโภชนาการในการกระตุ้นพัมนาการเด็กปฐมวัยและผู้ปกครองเด็กปฐมวัยรู้จักสังเกตอาการเบื้องต้นของโรคติดต่อชนิดต่างๆ และสามารถป้องกันการเกิดโรคได้อย่างทันท่วงที รวมไปถึงการดูแลสุขภาพทางช่องปากการแปรงฟันที่ถุกวิธี อนึ่งการจัดโครงการดังกล่าวจะส่งผลให้เด็กเจริญเติบโตเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ และมีพัฒนาการที่เหมาะสมกับช่วงวัยทั้งในด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา มีความรู้ ทักษะ คุณธรรม จริยธรรมและจิตสำนึกที่พึ่งประสงค์และอยู่ในสังคมได้อย่างปกติสุขต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1เพื่อให้ผู้ปกครองของเด้กปฐมวัยมีความรู้ความเข้าใจในด้านการดูแลสุขภาพของเด็กในช่วงปฐมวัยในเรื่องพัฒนาการเด็ก โภชนาการโรคติดต่อและสุขภาพทางช่องปาก
  2. ข้อที่ 2 เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยมีความรู้ในการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย
  3. ข้อที่ 3 เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยมีความรู้ในการคัดเลือกอาหารและเตรียมอาหารให้กับเด็กถูกต้องตามหลักโภชนาการในการกระตุ้นพัฒนาการเด็กปฐมวัยได้
  4. ข้อที่ 4 เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยรู้จักสังเกตอาการเบื้องต้นของโรคติดต่อชนิดต่างๆและสามารถป้องกันการเกิดโรค สำหรับพัฒนาการที่ดีในเด็กปฐมวัยได้
  5. ข้อที่ 5 เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยมีความรู้ในเรื่องการดูแลสุขภาพทางช่องปากการแปลงฟันที่ถูกวิธี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 70
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้ปกรองมีความรู้ความเข้าใจในด้านการดุแลสุขภาพ ของเด็กในช่วงปฐมวัย ในเรื่องสุขภาพทางช่องปาก การแปลงฟันที่ถูกวิธี พัฒนาการเด็ก โภชนาการและโรคติดต่อ 2.ผู้ปกครองเด็กปบมวัยมีคววามรู้ในการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย 3.ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยมีความรู้ในการคัดเลือกอาหารและเตรียมอาหารให้กับเด็กถูกต้องตามหลักโภชนาการในการกระตุ้นพัฒนาการเด็กปฐมวัยได้ 4.ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยรู้จักสังเกตอาการเบื้องต้นของโรคติดต่อชนิดต่างๆและสามารถป้องกันการเกิดโรคสำหรับพัฒนาการที่ดีในเด็กปฐมวัยได้ 5.ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยมีความรู้ในเรื่องการดูแลสุขภาพทางช่องปากการแปรงฟันที่ถูกวิธี


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ 4 ฐาน 1)ฐานโรคติดต่อ 2)ฐานโภชนาการ 3)ฐานพัฒนาการ 4)ฐานสุขภาพทางช่องปาก

วันที่ 25 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

อบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ 4 ฐาน 1)ฐานโรคติดต่อ 2)ฐานโภชนาการ 3)ฐานพัฒนาการ 4)ฐานสุขภาพทางช่องปาก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ปกครองนักเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งหมด จำนวน 70 คน คิดเป็นร้อยละ 100 1.1 วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 ผู้ปกครองของเด็กปฐมวัยมีความรู้ความเข้าใจในด้านการดูแลสุขภาพของเด็กในช่วงปฐมวัยในเรื่องพัฒนาการเด็ก โภชนาการโรคติดต่อ และสุขภาพทางช่องปาก มีจำนวนคำถามทั้งหมด 10 ข้อโดยใช้เกณฑ์แปลผลดังนี้ 1.ระดับคะแนน    9-10  แปลผลว่า        มากที่สุด 2.ระดับคะแนน    7-8  แปลผลว่า          มาก       3.ระดับคะแนน    5-6  แปลผลว่า          ปานกลาง       4.ระดับคะแนน    3-4  แปลผลว่า          น้อย       5.ระดับคะแนน    1-2  แปลผลว่า          น้อยที่สุด ตารางการประเมินความรู้ก่อน - หลังการอบรม การแปรผล ทดสอบความรู้ การแปรผล ก่อนการอบรม คิดเป็นร้อยละ หลังการอบรม คิดเป็นร้อยละ มากที่สุด 0 0 48 68.57 มาก 8 11.42 15 21.42 ปานกลาง 29 41.42 7 10 น้อย 30 42.85 0 0 น้อยที่สุด 3 4.28 0 0       รวม 70 100 70 100

จากตารางการประเมินความรู้ก่อน –หลังการอบรม พบว่า ก่อนการอบรม ผู้ปกครองนักเรียนมีความรู้อยู่ในระดับมาก 8 คน คิดเป็นร้อยละ 11.42 ระดับปานกลางจำนวน 29 คน คิดเป็นร้อยละ41.42 ระดับน้อยจำนวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 42.85  และระดับน้อยที่สุดจำนวน 3 คน    คิดเป็นร้อยละ 4.28 หลังการอบรม ผู้ปกครองนักเรียนมีความรู้อยู่ในระดับมากที่สุดจำนวน 48 คน คิดเป็นร้อยละ 68.57 อยู่ในระดับมาก 15 คน คิดเป็นร้อยละ 21.42 ระดับปานกลางจำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 10
ตารางเปรียบเทียบคะแนนก่อน -หลังการอบรม ก่อนการอบรม หลังการอบรม คะแนนที่ได้ จำนวนคน คิดเป็นร้อยละ คะแนนที่ได้ จำนวนคน คิดเป็นร้อยละ 8 5 7.14 10 22 31.42 7 3 4.28 9 26 37.14 6 15 21.42 8 11 15.71 5 14 20.00 7 4 5.71 4 17 24.28 6 6 8.57 3 13 18.57 5 1 1.42 2 2 2.85 4 0 0 1 1 1.42 3 0 0

                  จากตารางเปรียบเทียบคะแนนก่อน –หลังอบรม พบว่า ก่อนการอบรม ผู้ปกครองนักเรียนได้คะแนนสูงสุดที่ 8 คะแนน จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 7.14 รองลงมา 7 คะแนน จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ4.28 คะแนนน้อยที่สุด 1 จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 1.42 และความถี่ที่ได้มากที่สุดคือ 4 คะแนน จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 24.28 หลังการอบรม ผู้ปกครองนักเรียนได้คะแนนสูงสุดที่ 10 คะแนน จำนวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 31.25 รองลงมา 9 คะแนน จำนวน 26 คน คิดเป็นร้อยละ 37.14คะแนนน้อยที่สุด 5 จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 1.42 และความถี่ที่ได้มากที่สุดคือ 9 คะแนน จำนวน 26 คน คิดเป็นร้อยละ 37.14                   นอกจาการประเมินก่อน –หลังการอบรมแล้วผู้ปกครองนักเรียนได้แบ่งกลุ่มลงมือปฏิบัติ    ในเรื่องสุขภาพทางช่องปาก พัฒนาการเด็ก โภชนาการและโรคติดต่อ เช่น การแปรงฟันให้ถูกวิธี          การย้อมสีฟัน  การประเมินพัฒนาการเด็กตามแบบประเมินคู่มือเฝ้าระวัง การสาธิตเมนูอาหารบำรุงสมองเด็กปฐมวัย และการสังเกตอาการเบื้องต้นของโรคติดต่อ การสาธิตการล้างมือเจ็ดขั้นตอนที่ถูกวิธี และการลงพื้นที่กำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายครบถ้วนทุกคน คิดเป็นร้อยละ 100                 จึงสรุปได้ว่าผู้ปกครองนักเรียนมีความรู้เรื่องสุขภาพทางช่องปาก พัฒนาการเด็ก โภชนาการและโรคติดต่อ คิดเป็นร้อยละ 100 บรรลุวัตถุประสงค์ข้อที่ 1 1.2 วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยมีความรู้ในการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการ
เด็กปฐมวัยการวัดและประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยนั้นเป็นเรื่องที่สำคัญมากทั้งนี้เนื่องจากผู้ปกครองจะได้รู้ล่วงหน้าหากเด็กมีปัญหาด้านพัฒนาการและผู้ปกครองจะได้เตรียมการให้ความช่วยเหลือหรือสนับสนุนเด็กปฐมวัยให้มีพัฒนาการตามวัยหากผู้ปกครองปล่อยไว้ไม่สนใจการวัดการประเมินพัฒนาการเด็กก็อารทำให้เด็กมีปัญหาด้านพัฒนาการและผู้ปกครองอาจไม่สามารถแก้ไขได้อย่างทันท่วงที การวัดพัฒนาการเด็กนั้นต้องรวมเอาทุกๆกิจกรรมที่จะสามารถแสดงให้เห็นถึงพัฒนาการของเด็กในทุกๆด้าน ซึ่งผู้ปกครองสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการของบุตรหลานตนเองที่บ้านได้อย่างถูกต้อง 1.3 .วัตถุประสงค์ข้อที่ 3 ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยมีความรู้ในการคัดเลือกอาหารและเตรียมอาหาร ให้กับเด็กถูกต้องตามหลักโภชนาการในการกระตุ้นพัฒนาการเด็กปฐมวัย การได้รับสารอาหารที่ครบถ้วนและเพียงพอต่อความต้องการจะช่วยให้ร่ายกายเด็กเจริญเติบโต เต็มศักยภาพผู้ปกครองจึงควรให้ความสำคัญกับการเลือกโภชนาการที่เหมาะสมให้กับลูกในวัย ระหว่าง 1-6 ปี หรือวัยก่อนเรียนจึงควรได้รับอาหารมื้อหลัก 3 มื้อ ที่มีคุณค่าครบ 5 หมู่ และหลากหลายอาหารว่างไม่เกินวันละ 2 มื้อ และให้เด็กดื่มนมวันล่ะ 2-3 แก้ว             โภชนาการที่เหมาะสม นับเป็นปัจจัยสำคัญที่ช่วยเสริมพัฒนาการของลูกน้อย เพราะในช่วงขวบปีแรก เด็กจะมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว ทั้งทางร่างกายและสมอง โดยเฉพาะการเจริญเติบโตของสมอง ยังเป็นไปอย่างรวดเร็ว จนถึงอายุ 2 ขวบ อาหารสำหรับเด็กวัยก่อนวัยเรียน จึงเป็นการวางรากฐานชีวิตที่ดีสำหรับเด็ก ทั้งในขณะที่อยู่ในวัยนี้ และระยะต่อไป การขาดอาหารในระยะนี้ จะส่งผลให้เด็กมีสติปัญญาการเรียนรู้ด้อยลง การเจริญเติบโตชะงัก ทำให้ร่างกายแคระแกรน ไม่แข็งแรง เจ็บป่วย และติดเชื้อง่าย มีอัตราการเสียชีวิตสูง พ่อแม่จึงควรให้ความสำคัญกับการเลือกอาหารอย่างถูกต้อง และเพียงพอกับความต้องการตามวัยด้วย         1.4. วัตถุประสงค์ข้อที่ 4 ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยรู้จักสังเกตอาการเบื้องต้นของโรคติดต่อชนิดต่างๆและสามารถป้องกันการเกิดโรค สำหรับพัฒนาการที่ดีในเด็กปฐมวัย             การป้องกันโรคที่ได้ผลดีและคุ้มค่าที่สุด คือการป้องกันในระยะก่อนได้รับเชื้อ ได่แก่การส่งเสริมสุขภาพ การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค โดยเด็กต้องได้รับวัคซีนป้องกันโรคครบตามเกณฑ์ที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด ได้รับอาหารที่หลากหลายครบ 5 หมู่ ในสัดส่วนที่เหมาะสม ทั้ง 3 มื้อ ดื่มน้ำสะอาดได้รับการดูแลเรื่องสุขอนามัยส่วนบุคคล เน้นความสะอาดของที่อยู่อาศัย เครื่องใช้ส่วนตัว สิ่งแวดล้อมที่ถูกสุขลักษณะ สะอาดไม่แออัด อากาศถ่ายเทสะดวก การป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ดีคือ อย่าให้ยุงกัด และอย่าให้ยุงเกิด ด้วยการจำกัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายให้หมดสิ้น       1.5.วัตถุประสงค์ข้อที่ 5 ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยมีความรู้ในเรื่องการดูแลสุขภาพทางช่องปากการแปรงฟันที่ถูกวิธี             ผู้ปกครองควรดูแลฟันน้ำนมของลูกน้อยเป็นอย่างดี ถึงแม้ว่าอีกหน่อยฟันน้ำนมก็จะหลุดไปเอง แต่กว่าจะถึงเวลานั้น ฟันน้ำนมจะมีบทบาทสำคัญในการช่วยให้เด็กสามารถเคี้ยว กัด และพูดชัด นอกจากนี้ ฟันน้ำนมยังสร้างพื้นที่เตรียมไว้สำหรับฟันแท้ และช่วยให้ฟันแท้งอกขึ้นมาในตำแหน่งที่เหมาะสมด้วยเมื่อลูกอายุครบ 6 ขวบ ฟันน้ำนมจะเริ่มหลุด ดังนั้น ควรปล่อยให้ลูกโยกฟันจนกระทั่งฟันหลุดออกมาเอง ซึ่งวิธีนี้จะช่วยลดความเจ็บปวดและเลือดออกจากฟันหักได้ฟันฟุเกิดจากการปล่อยให้อาหารที่มีน้ำตาลตกค้างอยู่ในช่องปากเป็นเวลานาน แบคทีเรียที่อาศัยอยู่บนฟันของคุณจะกินเศษอาหารเหล่านี้ และปล่อยกรดออกมาทำลายเคลือบฟัน ระหว่างมื้ออาหารหรือของว่าง น้ำลายจะชะล้างกรดเหล่านี้ออกไป แต่หากลูกของคุณรับประทานอาหารอยู่ตลอดเวลา เวลาในการชะล้างกรดเหล่านี้อาจจะไม่พอคุณสามารถแปรงฟันให้ลูกได้เมื่ออายุครบ 2 ขวบ แต่ควรบีบยาสีฟันปริมาณน้อย (เท่าเมล็ดถั่วเขียว) เท่านั้น                              เด็กเล็กมักจะชอบกลืนยาสีฟันตอนแปรงฟันและไม่ยอมบ้วนออกมา ดังนั้นจึงควรให้ลูกแปรงฟันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์เมื่อลูกโตพอแล้วเท่านั้นและควรมีผู้ใหญ่ดูแลขณะแปรงฟัน
            อาหารที่ถูกสัดส่วนมีความสำคัญต่อความแข็งแรงและความสามารถในการต่อต้านฟันผุของเด็ก นอกจากการรับประทานวิตามินและแร่ธาตุที่จำเป็นแล้ว ควรให้แน่ใจว่าเด็กได้รับปริมาณแคลเซี่ยมและ ฟอสฟอรัสท รวมถึงปริมาณฟลูออไรด์ในระดับที่เหมาะสม ถ้าฟลูออไรด์คือสิ่งที่ดีที่สุดในการป้องกันฟันผุของเด็ก การรับประทานอาหารว่างบ่อยๆ ก็ถือเป็นศัตรูที่สำคัญที่สุดเช่นกัน โดยอาหารประเภทแป้งและน้ำตาลที่พบในอาหารว่างหลายๆ ชนิด เช่น คุกกี้ ลูกอม ผลไม้แห้ง น้ำอัดลม และมันฝรั่งทอดกรอบ เศษของอาหารเหล่านี้เมื่อรวมตัวกับคราบแบคทีเรียในช่องปากก็จะทำให้เกิดกรดซึ่งจะทำลายผิวเคลือบฟันและนำไปสู่ฟันผุได้ การจู่โจมของคราบแบคทีเรียสามารถอยู่ได้นานถึง 20 นาทีหลังจากมื้ออาหาร และแม้ว่าจะเป็นเพียงแค่คำเล็กๆ ก็สามารถทำให้เกิดกรดแบคทีเรียได้เช่นกัน ดังนั้น การจำกัดหรือลดจำนวนครั้งของอาหารว่างจึงเป็นอีกวิธีหนึ่งที่ดีที่สุดในการป้องการปัญหาฟันผุ

 

70 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1เพื่อให้ผู้ปกครองของเด้กปฐมวัยมีความรู้ความเข้าใจในด้านการดูแลสุขภาพของเด็กในช่วงปฐมวัยในเรื่องพัฒนาการเด็ก โภชนาการโรคติดต่อและสุขภาพทางช่องปาก
ตัวชี้วัด : -ผู้ปกครองงเข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ความเข้าใจในด้านการดูแลสุขภาพของเด็กในช่วงปฐมวัยในเรื่องพัฒนาการเด็กโภชนาการและโรคติดต่อ ร้อยละ 90 -โดยใช้แบบประเมินความรู้จากการอบรม
0.00

 

2 ข้อที่ 2 เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยมีความรู้ในการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย
ตัวชี้วัด : -ผู้ปกครองเข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ความเข้าใจการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปบมวัยร้อยละ 90 -โดยใช้แบบประเมินความรู้จากการอบรม -ผู้ปกครองเข้าร่วมกิจกรรมมีทักษะการเสริมสร้างพัฒนาการที่ดีให้กับเด็กปฐมวัย
0.00

 

3 ข้อที่ 3 เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยมีความรู้ในการคัดเลือกอาหารและเตรียมอาหารให้กับเด็กถูกต้องตามหลักโภชนาการในการกระตุ้นพัฒนาการเด็กปฐมวัยได้
ตัวชี้วัด : -ผู้ปกครองเข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ความเข้าใจในการคัดเลือกอาหารและเตรียมอาหารให้กับเด็กถูกต้องตามหลักโภชนาการในการกระตุ้นพัฒนาการเด็กปฐมวัยร้อยละ 90 -โดยใช้แบบประเมินความรุ้จากการอบรมผู้ปกครองเข้าร่วมกิจกรรมมีทักษะการประกอบอาหารสำหรับเด็กปฐมวัยที่ถูกหลักโภชนาการ
0.00

 

4 ข้อที่ 4 เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยรู้จักสังเกตอาการเบื้องต้นของโรคติดต่อชนิดต่างๆและสามารถป้องกันการเกิดโรค สำหรับพัฒนาการที่ดีในเด็กปฐมวัยได้
ตัวชี้วัด : -ผู้ปกครองเข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ความเข้าใจในการสังเกตอาการเบื้องต้นของโรคติดต่อชนิดต่างๆและสามารถป้องกันการเกิดโรค สำหรับพัฒนาการที่ดีในเด็กปฐมวัยร้อยละ 90 -โดยใช้แบบประเมินความรู้จากการอบรม -ผู้ปกครองเข้าร่วมกิจกรรมมีทักษะการสำรวจคูระบายน้ำบริเวณศูนย์พัฒนาเด็กเล็กแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลายเชื้อโรคและพาหะนำโรค
0.00

 

5 ข้อที่ 5 เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยมีความรู้ในเรื่องการดูแลสุขภาพทางช่องปากการแปลงฟันที่ถูกวิธี
ตัวชี้วัด : -ผู้ปกครองเข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการดูแลสุขภาพทางช่องปากการแปลงฟันที่ถูกวิธี ร้อยละ 90 -โดยใช้แบบประเมินความรู้จากการอบรม -ผู้ปกครองเข้าร่วมกิจกรรมมีทักษะการปรงฟันอย่างถูกวิธี
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 70
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1เพื่อให้ผู้ปกครองของเด้กปฐมวัยมีความรู้ความเข้าใจในด้านการดูแลสุขภาพของเด็กในช่วงปฐมวัยในเรื่องพัฒนาการเด็ก โภชนาการโรคติดต่อและสุขภาพทางช่องปาก (2) ข้อที่ 2 เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยมีความรู้ในการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (3) ข้อที่ 3 เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยมีความรู้ในการคัดเลือกอาหารและเตรียมอาหารให้กับเด็กถูกต้องตามหลักโภชนาการในการกระตุ้นพัฒนาการเด็กปฐมวัยได้ (4) ข้อที่ 4 เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยรู้จักสังเกตอาการเบื้องต้นของโรคติดต่อชนิดต่างๆและสามารถป้องกันการเกิดโรค สำหรับพัฒนาการที่ดีในเด็กปฐมวัยได้ (5) ข้อที่ 5 เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยมีความรู้ในเรื่องการดูแลสุขภาพทางช่องปากการแปลงฟันที่ถูกวิธี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย(โรงเรียนพ่อ แม่) ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุลญันนะห์

รหัสโครงการ 62-L7580-3-02 ระยะเวลาโครงการ 15 กรกฎาคม 2562 - 15 สิงหาคม 2562

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย(โรงเรียนพ่อ แม่) ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุลญันนะห์ จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-L7580-3-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวรอรำล๊ะ หมาดสา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด