กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต


“ โครงการอบรมให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุและผู้ดูแลผู้สูงอายุในชุมชนตำบลบูกิต ประจำปี 2562 ”

ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายอับดุลกอเดร์ มูฮำมะ

ชื่อโครงการ โครงการอบรมให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุและผู้ดูแลผู้สูงอายุในชุมชนตำบลบูกิต ประจำปี 2562

ที่อยู่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L2479-3-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุและผู้ดูแลผู้สูงอายุในชุมชนตำบลบูกิต ประจำปี 2562 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุและผู้ดูแลผู้สูงอายุในชุมชนตำบลบูกิต ประจำปี 2562



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อจัดบริการดูแลระยะยาวผู้สูงอายุในชุมชน (2) เพื่อแก้ปัญหาผู้สูงอายุที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง (3) ส่งเสริมป้องกันโรคในผู้สูงอายุ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่1รู้เท่าทันโรคในผู้สูงอายุ การดำเนินกิจกรรม (2) กิจกรรมที่ 2 สูงวัยใส่ใจสุขภาพด้วย  3 อ (3) กิจกรรมที่ 3 สิทธิประโยชน์ขั้นพื้นฐานสำหรับผู้สูงอายุ ซึ่งการดำเนินงานในกิจกรรมทั้ง 3 กิจกรรมนั้น เป็นการดำเนินการภายใต้แนวคิด ร่วมแรง ร่วมใจ ผูู้สูงวัยกายใจเบิกบาน เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการบริการที่ครอบคลุมทุกมิติทางด้านสุขภาพ สังคม จิตใจ และเศรษฐกิจ โดยเฉพาะมิติทางด้านสุขภาพในกิจกรรมนี้ คือ การที่ผู้สูงอายุได้รวมกลุ่มกันทำกิจกรรมร่วมกันมีแนวคิดที่คล้ายคลึงกันสามารถพูดคุยปรึกษากับเพื่อนๆ ที่อยู่ในวัยเดียวกัน ตลอดจน พูดคุยกับเจ้าหน้าที่ทางด้านสาธารณสุข,เจ้าหน้าที่ อบต.,เจ้าหน้าที่จาก พมจ. ทำให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้มีโอกาสเปิดโลกทัศน์ให้กับตนเองได้และโดยเฉพาะผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่บ้านเพียงลำพังในตอนกลางวันที่บ้านจะสามารถคลายความเหงาได้บ้างในช่วงเวลาที่มาทำกิจกรรม ณ ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุตำบลบูกิต  นอกจากทางคณะกรรมการของ ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตฯ ยังได้มีโอกาสประสานความร่วมมือกับเจ้าหน้าที่หน่วยงานที่ทำหน้าที่ในการดูแลผู้ส่งเสริมผู้สูงอายุเพื่อพัฒนาวางแผนงานในการดูแลผู้สูงอายุในชุมชนต่อไป

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากความก้าวหน้าด้านการแพทย์และสาธารณสุขของประเทศไทยทำให้อัตราการเพิ่มประชากรได้อย่างรวดเร็วส่งผลให้จำนวนและสัดส่วนของประชากรผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วสัดส่วนประชากรที่มีอายุมากกว่า60ปีสูงขึ้นจนทำให้ประชากรสูงอายุมีมากกว่าร้อยละ10 ในอนาคตอีก20ปี(พ.ศ.2575)ปิรามิดประชากรจะมีฐานแคบลงไปอีกโดยสัดส่วนของประชากรวัยเด็กและวัยแรงงานลดลงโดยประชากรวัยสูงอายุจะมีสัดส่วนสูงขึ้นถึง2เท่าตัวเมื่อเทียบกับปีพ.ศ.2555เป็นสังคมผู้สูงอายุอย่างเต็มรูปแบบ เมื่ออายุมากขึ้นการทำงานในระบบต่าง ๆ ของร่างกายค่อย ๆ เสื่อมถอยลงส่งผลทำให้มีระดับการช่วยเหลือตนเองลดลงจากความก้าวหน้าทางการแพทย์ทำให้อัตราการตายลดลงมีอายุยืนยาวขึ้นจากการที่ยิ่งอายุมากขึ้นประสิทธิภาพในการบดเคี้ยวอาหารขึ้นอยู่กับการดูแลสุขภาพในช่องปากของแต่ละคนโดยร้อยละ48.6ของผู้สูงอายุมีฟันแท้เหลืออยู่น้อยกว่า20ซี่ซึ่งจะทำให้มีความยากลำบากในการบดเคี้ยวอาหารมีโอกาสสูงที่จะเป็นโรคขาดสารอาหารและน้ำหนักตัวต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน วัยสูงอายุเป็นวัยที่มีการเปลี่ยนแปลงทางสรีระของร่างกายการทำหน้าที่ของร่างกายลดลงทำให้เสี่ยงต่อการเกิดโรคโดยเฉพาะโรคเรื้อรังซึ่งเป็นปัญหาทางสุขภาพทีสำคัญของผู้สูงอายุมีรายงานเกี่ยวกับผู้สูงอายุที่อายุ65ปีขึ้นไปประมาณร้อยละ80มีภาวะเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังอย่างน้อย1โรคและประมาณร้อยละ50มีภาวะเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังอย่างน้อย2โรคนอกจากนี้ยังพบแนวโน้มการเพิ่มขึ้นของปัญหาสุขภาพจิตในผู้สูงอายุเช่นภาวะซึมเศร้า ภาวะเครียดและความวิตกกังวลจากการสำรวจในปีพ.ศ.2546 – 2552พบว่าโรคเรื้อรัง ที่ผู้สูงอายุเป็นมาก3ลำดับแรกคือโรคหัวใจและโรคระบบกล้ามเนื้อกระดูกและข้อโดยโรคหัวใจและหลอดเลือดและโรคของต่อมไร้ท่อมีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุตำบลบูกิตซึ่งเป็นศูนย์ที่ดำเนินงานด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลบูกิตจึงได้จัดทำโครงการอบรมให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุและผู้ดูแลผู้สูงอายุในชุมชนตำบลบูกิต ประจำปีงบประมาณ 2561 ตามมาตรฐานการดำเนินงานของศูนย์ ฯ ในด้านการจัดกิจกรรมและบริการประกอบด้วยตัวชี้วัดดังนี้(1)มีบริการตรวจสุขภาพเบื้องต้น(2) มีกิจกรรมส่งเสริมการบริโภคอาหารตามหลักโภชนาการสำหรับผู้สูงอายุ(3)มีกิจกรรมออกกำลังกายที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ(4)มีกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิตสำหรับผู้สูงอายุ(5)มีกิจกรมให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดสภาพแวดล้อมและที่อยู่อาศัยที่ปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุผู้ดูแลหรือผู้ที่เกี่ยวข้อง(6)มีกิจกรรมส่งเสริมการดูแลสุขภาพช่องปากสำหรับผู้สูงอายุ(7)มีกิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคเรื้อรังและการป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง(8)มีกิจกรรมให้ความรู้ด้านการดูแลผู้สูงอายุ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อจัดบริการดูแลระยะยาวผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง
  2. เพื่อแก้ปัญหาผู้สูงอายุที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่1รู้เท่าทันโรคในผู้สูงอายุ การดำเนินกิจกรรม
  2. กิจกรรมที่ 2 สูงวัยใส่ใจสุขภาพด้วย 3 อ
  3. กิจกรรมที่ 3 สิทธิประโยชน์ขั้นพื้นฐานสำหรับผู้สูงอายุ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ 30
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

เข้าอบรมมีความรู้ความเข้าใจและสามารถนำความรู้ไปถ่ายทอดในความหมายสาเหตุและการป้องกันโรคที่พบบ่อยในกลุ่มผู้สูงอายุได้อย่างถูกต้อง 2. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุเรื่องอาหาร,โภชนาการ,การออกกำลังกายการจัดการอารมณ์และสามารถนำความรู้ไปส่งเสริมผู้สูงอายุได้อย่างถูกต้อง 3. บอกถึงสิทธิประโยชน์ขั้นพื้นฐานของผู้สูงอายุตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 4. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจการสื่อสารในมุมมองอิสลามและรู้เท่าทันสื่อในยุคดิจิตอล


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมที่1รู้เท่าทันโรคในผู้สูงอายุ การดำเนินกิจกรรม

วันที่ 6 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ให้ความรู้เรื่อง

ซักถามพูดคุยแจกของรางวัล จัดทำกิจกรรม วันอังคาร ที่ 6 สิงหาคม 2562 วิทยากร นางสาวนูรีซัน สุหลง นักวิชาการสาธารณสุขประจำสำนักงานสาธารณสุขอำเภอเจาะไอร้อง มาให้ความรู้เรื่องรู้เท่าทันโรคในผู้สูงอายุและเภสัชกรประจำโรงพยาบาลเจาะไอร้องมาให้ความรู้เพิ่มเติมในเรื่องของยา หลักการใช้ยา และโทษของยาที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิตจากการดำเนินกิจกรรมที่  1  รู้เท่าทันโรคในผู้สูงอายุ  ในโครงการ มีผู้สูงอายุและผู้ดูแลผู้สูงอายุเข้าร่วมกิจกรรม  จำนวน  60  ราย
-  ได้รับความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาวิชาซึ่งสามารถสรุปเป็นใบความรู้ได้ดังนี้ -  นำเนื้อหาในใบความรู้มาจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนผู้สูงอายุตำบลบูกิต -  ผู้สูงอายุและผู้ดูแลผู้สูงอายุมีความต้องการที่จะเข้าร่วมเป็นนักเรียนโรงเรียนผู้สูงอายุตำบลบูกิตซึ่งจะทำให้สามารถดูแลผู้สูงอายุในชุมชนได้อย่างต่อเนื่องผ่านกิจกรรมของโรงเรียนผู้สูงอายุตำบลบูกิต

 

30 0

2. กิจกรรมที่ 2 สูงวัยใส่ใจสุขภาพด้วย 3 อ

วันที่ 13 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ดูแลผู้สูงอายุ โดยใช้หลักสูงวัยใส่ใจสุขภาพด้วย 3 อ ประกอบด้วย อ.1 อาหารและโภชนาการสำหรับผู้สูงอายุ เนื่องจากวัยสูงอายุมีความต้องการพลังงานลดลงจากวัยผู้ใหญ่ เนื่องจากปริมาณกล้ามเนื้อและมวลกล้ามเนื้อที่ลดลง อาจเนื่องมาจากการใช้พลังงานในการทำกิจกรรมในชีวิตประจำวันและอัตราการสร้างเนื้อเยื่อใหม่ ๆ ลดลง อัตราการเผาผลาญอาหารลดลงตามอายุที่เพิ่มขึ้น แต่ความต้องการสารอาหารอื่น ๆ รวมทั้ง วิตามินและเกลือแร่ไม่ลดลง ยกเว้นความต้องการธาตุเหล็กในการบริโภคอาหารของผู้สูงอายุต้องคำนึงถึงคุณภาพของอาหารโดยให้พลังงานลดลงแต่ได้สารอาหารครบถ้วน พลังงานที่ควรได้รับไม่ควรน้อยกว่า 1,200 กิโกแคลอรี่/วัน โดยมีวิทยากรจากโรงพยาบาลเจาะไอร้อง มาให้ความรู้เพื่อสร้างความเข้าใจว่าผู้สูงอายุควรกินอาหารอย่างไรให้ถูกหลัก โดยได้เปรียบเทียบอาหารที่ผู้สูงอายุบริโภคจริงกับสารอาหารที่ควารได้รับต่อวัน  อ.2 ออกกำลังกายที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ การเสริมสร้างความแข็งแรงของร่างกายด้วยการรับประทานอาหารแล้ว การออกกำลังกายก็เป็นอีกวิธีหนึ่งที่ข่วยเผาผลาญพลังงานที่เกินของร่างกาย อีกทั้งยังเสริมสร้างให้กระดูกและกล้ามเนื้อแข็งแรง ชะลอการเสื่อมตามวัย และผู้สูงอายุสามารถทำกิจกรรมต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันได้อย่างต่อเนื่องได้ด้วยตัวเอง อย่างไรก็ตามต้องมีวิธีการออกกำลังกายให้เหมาะสมกับวัยด้วย โดยมีพยาบาลชำนาญการจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านปีแนมูดอมาให้ความรู้ในการออกกำลังกายที่เหมาะสมโดยมีการสาธิตและสอนท่าออกกำลังกายที่ผู้สูงอายุสามารถทำตามได้อย่างง่าย  และ อ.3 อารมณ์ในวัยผู้สูงอายุ การรู้เท้่าทันและการจัดการอารมณ์ในวัยผู้สูงอายุ จะทำให้ความสัมพันธ์ของผู้สูงอายุกับคนรอบข้างเป็นไปอย่างดี การเตรียมการวางแผนก่อนวาระสุดท้ายของชีวิต เช่น การเตรียมด้านจิตใจ ควรเตรียมรับความตายอยู่เสมอ โดยนึกถึงความตายบ่อย ๆ ฝึกการปล่อยวาง ไม่ยึดติดในลาภยศ สรรเสริม หรือสุข ไม่ควรดีใจหรือเสียใจจนเกินไปกับเหตุการณ์ต่างๆ ให้อภัยคนรอบข้างไม่คิดร้ายกับคนอื่น ศึกษาหลักศาสนาที่นับถือให้ลึกซึ้งถึงแก่นฝึกสมาธิให้จิตในสงบ ไม่เกิดภาวะเครียดสามารถดำรงชีวิตได้อย่างมีความสุข จึงได้เชิญท่านโต๊ะครูที่มีความรู้ทางด้านศาสนามาให้ความรู้ในการทำจิตใจให้สงบไม่ฟุ้งซ่านเพื่อให้ผู้สูงอายุเกิดความสงบสุขทางด้านจิตใจ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากเป้าหมายโครงการนำบทสรุปจากการเรียนรู้มาจัดทำใบความรู้เพื่อเป็นเนื่องประกอบการเรียนการสอนของโรงเรียนผู้สูงอายุตำบลบูกิต

 

60 0

3. กิจกรรมที่ 3 สิทธิประโยชน์ขั้นพื้นฐานสำหรับผู้สูงอายุ

วันที่ 20 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุตำบลบูกิตได้เชิญ  นิติกรประจำสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงจังหวัดนราธิวาสมาให้ความรู้เรื่อง  สิทธิประโยชน์ขั้นพื้นฐานสำหรับผู้สูงอายุ  โดยเริ่มตั่งแต่เวลา  09.00 น.  -  เวาลา 15.00  น.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้สูงอายุและผู้ดูแลผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการมีความเข้าใจในสิทธิขั้นพื้นฐานของตนเอง

 

60 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อจัดบริการดูแลระยะยาวผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้ช่วยเหลือ(CG)ที่มีทักษะการดูและช่วยเหลือผู้สูงอายุในชุมชน (คน)
30.00 30.00

 

2 เพื่อแก้ปัญหาผู้สูงอายุที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง
ตัวชี้วัด : จำนวนบุคคลในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล (คน)
30.00 30.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ 30
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อจัดบริการดูแลระยะยาวผู้สูงอายุในชุมชน (2) เพื่อแก้ปัญหาผู้สูงอายุที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง (3) ส่งเสริมป้องกันโรคในผู้สูงอายุ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่1รู้เท่าทันโรคในผู้สูงอายุ การดำเนินกิจกรรม (2) กิจกรรมที่ 2 สูงวัยใส่ใจสุขภาพด้วย  3 อ (3) กิจกรรมที่ 3 สิทธิประโยชน์ขั้นพื้นฐานสำหรับผู้สูงอายุ ซึ่งการดำเนินงานในกิจกรรมทั้ง 3 กิจกรรมนั้น เป็นการดำเนินการภายใต้แนวคิด ร่วมแรง ร่วมใจ ผูู้สูงวัยกายใจเบิกบาน เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการบริการที่ครอบคลุมทุกมิติทางด้านสุขภาพ สังคม จิตใจ และเศรษฐกิจ โดยเฉพาะมิติทางด้านสุขภาพในกิจกรรมนี้ คือ การที่ผู้สูงอายุได้รวมกลุ่มกันทำกิจกรรมร่วมกันมีแนวคิดที่คล้ายคลึงกันสามารถพูดคุยปรึกษากับเพื่อนๆ ที่อยู่ในวัยเดียวกัน ตลอดจน พูดคุยกับเจ้าหน้าที่ทางด้านสาธารณสุข,เจ้าหน้าที่ อบต.,เจ้าหน้าที่จาก พมจ. ทำให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้มีโอกาสเปิดโลกทัศน์ให้กับตนเองได้และโดยเฉพาะผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่บ้านเพียงลำพังในตอนกลางวันที่บ้านจะสามารถคลายความเหงาได้บ้างในช่วงเวลาที่มาทำกิจกรรม ณ ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุตำบลบูกิต  นอกจากทางคณะกรรมการของ ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตฯ ยังได้มีโอกาสประสานความร่วมมือกับเจ้าหน้าที่หน่วยงานที่ทำหน้าที่ในการดูแลผู้ส่งเสริมผู้สูงอายุเพื่อพัฒนาวางแผนงานในการดูแลผู้สูงอายุในชุมชนต่อไป

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการอบรมให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุและผู้ดูแลผู้สูงอายุในชุมชนตำบลบูกิต ประจำปี 2562

รหัสโครงการ 62-L2479-3-03 ระยะเวลาโครงการ 1 มกราคม 2562 - 30 กันยายน 2562

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการอบรมให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุและผู้ดูแลผู้สูงอายุในชุมชนตำบลบูกิต ประจำปี 2562 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L2479-3-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอับดุลกอเดร์ มูฮำมะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด