กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละแมะนา


“ โครงการพัฒนาและส่งเสริมสุขภาพเด็กอายุ 0-5 ปี ”

ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายรุซฟัยซาล อุเมะ

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาและส่งเสริมสุขภาพเด็กอายุ 0-5 ปี

ที่อยู่ ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62-2986-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2562 ถึง 31 มีนาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาและส่งเสริมสุขภาพเด็กอายุ 0-5 ปี จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละแมะนา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาและส่งเสริมสุขภาพเด็กอายุ 0-5 ปี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาและส่งเสริมสุขภาพเด็กอายุ 0-5 ปี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 62-2986-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2562 - 31 มีนาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละแมะนา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่า และเป็นอนาคตที่สำคัญของชาติ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์จะต้องเริ่มต้นจากเด็ก โดยเฉพาะในช่วงแรกเกิด - 5 ปี วึ่งเป็นช่วงที่เริ่มมีการพัฒนาในด้านต่างๆอย่างรวดเร็ว เด็กในวัยนี้ถ้าได้รับการเลี้ยงดูที่เหมาะสม และมีการส่งเสริมพัฒนาการที่ดีในแต่ละด้าน จะทำให้เด็กเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพในอนาคต พัฒนาการเด็กเกิดจากการเปลี่ยนแปลงหลายด้านผสมผสานกัน โดยพัฒนาการทุกด้านไม่ว่าจะเป็นด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจและสังคม ล้วนมีความสำคัญและเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันหมด การเปลี่ยนแปลงของพัฒนาการด้านหนึ่งย่อมมีผลให้ให้พัฒนาการอีกด้านหนึ่งเปลี่ยนแปลงไปด้วย การกินอาหารถูกต้องเหมาะสมและพอเพียงจะทำให้มีโภชนาการดี และนำไปสู่การมีสุขภาพดีใ ในทางตรงกันข้ามหากกินอาหารที่ไม่มีประโยชน์ไม่เพียงพอจะทำให้ขาดสารอาหาร หรือถ้ากินอาหารมากเกินไป ก็จะทำให้เป็นโรคอ้วนหรือโภชนาการเกิน "โภชนาการ" จึงเป็นเรื่องขิงการกิน "อาหาร" ที่ร่างกายเรานำ "สารอาหาร" จากอาหารไปใช้ประโยชน์และดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างเป็นสุข อาหารและโภชนาการเป็นพื้นฐานสำคัญยิ่งต่อสุขภาพ โดยเฉพาะในเด็กวัยก่อนเรียนเป็นวัยที่อยู่ในระยะสำคัญของชีวิต เป็นวัยรากฐานของพัฒนาการ การเจริญเติบโต จึงเป็นวัยที่มีความสำคัญเหมาะสมที่สุดในการวางพื้นฐานเพื่อยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยเฉพาะในระยะ 3 ปี แรกของชีวิต เป็นระยะที่ร่างกายและสมองมีการเจริยเติบโตอย่างรวดเร็วจำเป็นต้องได้รับการเลี้ยงดูที่ดีที่สุดเพื่อส่งเสริมพัฒนาการรอบด้าน อาหารและภาวะโภชนาการที่ดีเป็นปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาของเด็กวัยก่อนวัยเรียน การจะรับประทานได้ดีเด็กต้องไม่มีปัญหาเรื่องฟัน ดังนั้นจึงต้องส่งเสริมและดูแลฟันควบคู่ไปด้วย ส่วนการที่จะให้เด็กมีสุขภาพดีต้องปราศจากดรคภัยไข้เจ็บจึงต้องเน้นการป้องกันโดยการส่งเสริมให้เด็กได้รับวัคซีนให้ครบตามเกณฑ์ด้วย จังหวัดปัตตานีมีนโยบายเด็กปัตตานีมีสุขภาพดี โดยให้มีความพร้อมทั้ง 4 ด้าน คือ มีพัฒนาการสมวัย โภชนาการสมส่วน ฟันไม่ผุ และการได้รับวัคซีนครบตามเกณฎ์ สาธารณสุขอำเภอทุ่งยางแดงมีการดำเนินงานเพื่อตอบสนองนโยบายจังหวัดและกระทรวงสาธารณสุขเช่นกัน ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี จึงได้มีการทบทวน วิเคราะห์ข้อมูลเด็ก 0 - 5 ปี ในปี 2561 พบว่า เด็กมีพัฒนาการสมวัย จำนวน 207 ราย คิดเป็นร้อยละ 88.84 เด็กสงสัยพัฒนาล่าช้า จำนวน 24 ราย คิดเป็นร้อยละ 10.30 เด็กมีพัฒนาการล่าช้า จำนวน 2 รายคิดเป็นร้อยละ 0.86 เด็โภชนาการดีสมส่วน จำนวน 130 ราย คิดเป็นร้อยละ 39.88 เด็กเตี้ย จำนวน 253 ราย คิดเป็นร้อยละ 17.53 เด็กได้รับการตรวจฟันและทาฟลูออไรด์วานิช จำนวน 203 ราย คิดเป้นร้อยละ 86.75 เด็กได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ จำนวน 41 ราย คิดเป็นร้อยละ 57.75 จะเห็นว่าเด็กในตำบลคะดละแมะนา มีปัญหาทั้งด้านพัฒนาการ โภชนาการและวัคซีน ซึ่งเป็นเรื่องสำคัญมากที่จะต้องรีบแก้ไข สำหรับในปีนี้ นอกจากเน้นการติดตามเด็กให้มารับวัคซีนให้ครบตามเกณฑ์แล้ว ทางศูนย์สุขภาพชุมชนตำบลตะโละแมะนาจะบูรณาการเรื่องของพัฒนาการและโภชนาการไปพร้อมๆกัน     ศูนย์สุขภาพชุมชนตำบลตะโละแมะนาจึงได้รับกลยุทธ์ โดยการมุ่งเน้นปรับเปลี่ยนทัศนคติของผู้ปกครองให้นำบุตรมารับบริการที่คลินิกเด็กดี และทำงานเชิงรุกในชุมชนให้มากขึ้น มีการรณรงค์ให้ผู้ปกครองเห็นความสำคัญของเด็กให้มีความพร้อมทั้ง 4 ด้าน โดยการเพิ่มแรงจูงใจแก่ผู้ปกครองและใช้พลังขับเคลื่อนของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) และเสริมแรงจูงใจ ด้วยการจัดทำแต้มสะสมคะแนนมาแลกของรางวัล โดยหวังว่าจะทำให้เด้กตะโละมีความสมบูรณ์ครบถ้วนทุกด้าน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง
  2. เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพ ลดการผิดปกติจากการตั้งครรภ์
  3. เพื่อป้องกันโรคทาลัสซีเมีย
  4. เพื่อส่งเสริมแม่ที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ระยะเวลา 6 เดือน
  5. เพื่อลดภาวะซีดในหญิงวัยเจริญพันธุ์
  6. เพื่อส่งเสริมและเตรียมความพร้อมหญิงวัยเจริญพันธุ์
  7. เพื่อแก้ปัญหาหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีภาวะตั้งครรภ์วัยรุ่น
  8. เพื่อเพิ่มจำนวนหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. นำเสนอข้อมูลด้านพัฒนาการ โภชนาการ และด้านทันตกรรม ของเด็ก 0-5 ปี 2. ให้ความรู้เรื่องพัฒนาการ โภชนาการ การดูแลสุขภาพในช่องปากและวัคซีน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 50
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เด็ก 0-5 ปี มีสุขภาพดี
2. ไม่เกิดโรคระบาดที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง
ตัวชี้วัด : จำนวนหญิงฝากครรภ์ที่สามารถฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง(คน)
10.00 20.00

 

2 เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพ ลดการผิดปกติจากการตั้งครรภ์
ตัวชี้วัด : จำนวนหญิงคลอดได้รับการตรวจและเยี่ยมหลังคลอด(คน)
13.00 20.00

 

3 เพื่อป้องกันโรคทาลัสซีเมีย
ตัวชี้วัด : จำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับการคัดกรองและป้องกันโรคทาลัสซีเมีย (คน)
26.00 35.00

 

4 เพื่อส่งเสริมแม่ที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ระยะเวลา 6 เดือน
ตัวชี้วัด : จำนวนแม่ที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ระยะเวลา 6 เดือน(คน)
13.00 20.00

 

5 เพื่อลดภาวะซีดในหญิงวัยเจริญพันธุ์
ตัวชี้วัด : จำนวนหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีภาวะซีด(คน)
6.00 4.00

 

6 เพื่อส่งเสริมและเตรียมความพร้อมหญิงวัยเจริญพันธุ์
ตัวชี้วัด : จำนวนหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม(คน)
635.00 500.00

 

7 เพื่อแก้ปัญหาหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีภาวะตั้งครรภ์วัยรุ่น
ตัวชี้วัด : จำนวนหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีภาวะตั้งครรภ์วัยรุ่น(อายุน้อยกว่า 20 ปี) (คน)
2.00 0.00

 

8 เพื่อเพิ่มจำนวนหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์
ตัวชี้วัด : จำนวนหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์(คน)
22.00 30.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 50
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง (2) เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพ ลดการผิดปกติจากการตั้งครรภ์ (3) เพื่อป้องกันโรคทาลัสซีเมีย (4) เพื่อส่งเสริมแม่ที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ระยะเวลา 6 เดือน (5) เพื่อลดภาวะซีดในหญิงวัยเจริญพันธุ์ (6) เพื่อส่งเสริมและเตรียมความพร้อมหญิงวัยเจริญพันธุ์ (7) เพื่อแก้ปัญหาหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีภาวะตั้งครรภ์วัยรุ่น (8) เพื่อเพิ่มจำนวนหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. นำเสนอข้อมูลด้านพัฒนาการ โภชนาการ และด้านทันตกรรม ของเด็ก 0-5 ปี  2. ให้ความรู้เรื่องพัฒนาการ โภชนาการ การดูแลสุขภาพในช่องปากและวัคซีน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาและส่งเสริมสุขภาพเด็กอายุ 0-5 ปี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62-2986-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายรุซฟัยซาล อุเมะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด