กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา


“ โครงการจัดบริการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง เทศบาลนครสงขลา ปี 2562 ”

อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
(นางบงกช พันธ์คง) ผู้จัดการระบบการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุข ศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ

ชื่อโครงการ โครงการจัดบริการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง เทศบาลนครสงขลา ปี 2562

ที่อยู่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L7250-1-09 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2562 ถึง 31 มกราคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการจัดบริการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง เทศบาลนครสงขลา ปี 2562 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการจัดบริการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง เทศบาลนครสงขลา ปี 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการจัดบริการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง เทศบาลนครสงขลา ปี 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L7250-1-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2562 - 31 มกราคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 110,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่เทศบาลนครสงขลาได้จัดตั้งกองทุนหลักประกันสุขภาพเพื่อผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง เทศบาลนครสงขลา และจัดบริการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ในเขตเทศบาลนครสงขลา มาตั้งแต่ ปี 2560 – 2561 กลุ่มเป้าหมายหลักคือกลุ่มผู้สูงอายุที่ใช้สิทธิหลักประกันสุขภาพ ตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไปที่มีค่าการประเมินความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวัน ตามดัชนีบาร์เธล ที่น้อยกว่าหรือเท่ากับ 11 จะได้รับการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขเชิงรุกที่เหมาะสม จากทีมสหวิชาชีพ จากข้อมูลการคัดกรองผู้สูงอายุ และผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง ในเขตเทศบาลนครสงขลา ณ เดือนตุลาคม 2561 โดยหน่วยบริการปฐมภูมิในพื้นที่ พบว่า มีกลุ่มผู้สูงอายุ 60 ปี ขึ้นไป ที่ใช้สิทธิ์หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ที่มีคะแนนเอดีแอลเท่ากับหรือน้อยกว่า ๑๑ คะแนน (ติดบ้าน ติดเตียง) จำนวน 68 คน กลุ่มเหล่าที่ได้รับงบประมาณในการจัดบริการดูแลระยะยาว ฯ จากกองทุนหลักประกันสุขภาพเพื่อผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง นอกจากนั้นยังพบว่ายังมีกลุ่มผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง อีกจำนวน 22 คน ที่มีอายุไม่ถึง 60 ปี หรือใช้สิทธิ์อื่น ๆ บางคนมีฐานะยากจน หรือถูกทอดทิ้ง กลุ่มเหล่านี้จำเป็นต้องได้รับการดูแลช่วยเหลือทั้งด้านบริการสาธารณสุขและด้านสังคม ที่จำเป็นเพื่อส่งเสริมให้คุณภาพชีวิตที่ดี เหมาะสม ตามสภาพ ศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ เทศบาลนครสงขลาร่วมกับหน่วยบริการปฐมภูมิในพื้นที่ จึงได้จัดทำโครงการจัดบริการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง เทศบาลนครสงขลาปี 2562 ขึ้นเพื่อจัดบริการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุข ให้กับผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง ดังกล่าว โดยขอรับงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลาขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง ในพื้นที่เทศบาลนครสงขลา ได้รับการบริการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขตามแผนการดูแลรายบุคคล ตามชุดสิทธิประโยชน์การบริการด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ 22
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่เทศบาลสงขลา จะมีคุณภาพชีวิตที่ดี สามารถดำรงชีวิตได้อย่างปกติสุข ลดภาระในการดูแลของครอบครัว


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    แบบรายงานผลการดำเนินงาน   การจัดบริการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ปีงบประมาณ 2562                 กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครสงขลา             ................................................................................................................. ศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ เทศบาลนครสงขลา                                      วันที่    กุมภาพันธ์ 2563
    เรียน ประธานอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง
    ศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ เทศบาลนครสงขลา ขอรายงานผลการดำเนินงานตามข้อเสนอการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงที่ได้รับความเห็นชอบจากคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มาวะพึ่งพิง ปีงบประมาณ 2562 ดังนี้ ๑. ระยะเวลาดำเนินการ
    - โครงการจัดบริการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสาหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง เทศบาลนครสงขลา ปี 2562 ( ระยะที่ 1 ) เดือนพฤศจิกายน 2561 – ตุลาคม 2562 - โครงการจัดบริการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสาหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง เทศบาลนครสงขลา ปี 2562 (ต่อเนื่อง) ระยะที่ 2 พฤศจิกายน 2562 – กุมภาพันธ์ 2563 - โครงการจัดบริการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสาหรับผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง เทศบาลนครสงขลา ปี 2562 เดือนกุมภาพันธ์ 2562 – มกราคม 2563 ๒. สถานที่ดำเนินการ  ภายในเขตพื้นที่รับผิดชอบของเทศบาลนครสงขลา ๓. บุคลากรดำเนินงานที่เกี่ยวข้อง ๓.๑ ผู้จัดการระบบการดูแล (Care Manager)
    - ฝ่ายสนับสนุนการดำเนินงาน จากโรงพยาบาลสงขลา จำนวน 4 คน 1. นางวิรารัตน์ นิลสวัสดิ์    พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ 2. นางปาณิสรา สิทธิคง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ 3. นางนิชรีกรณ์ เจะดุหนัน  พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ 4. นางศิริเพ็ญ หนูสาย    พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ - ฝ่ายปฏิบัติการ จากศูนย์สุขภาพชุมชน โรงพยาบาลสงขลา จำนวน 9 คน 1. นางปริยาภัทร เต็มศรี  พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ 2. นางลักษณา หวัดเพ็ชร  พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ 3. นางคมเดือน ธรรมทินนะ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ 4. นางสาวภัสราภรณ์ แก้วทองมา พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ 5. นางจุฑาภรณ์ กาญจนะ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ 6. นางรัญชนา คลังมั่น  พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ 7. นางพัชรี รัตนะ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ 8. นางสุมาลี คำหงษา พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ 9. นางณมน  วงศ์หมัดทอง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ

    • ฝ่ายปฏิบัติการ จากศูนย์บริการสาธารณสุขและเทศบาลนครสงขลา จำนวน 3 คน
      1. นางวสุธิดา นนทพันธ์  พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
      2. นางสาวเอมอร ไชยมงคล  พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
      3. นายมานพ รัตนคุณ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ

    ๓.๒ ผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุที่ภาวะพึ่งพิง (Care Giver) จำนวน 43 คน ได้แก่ - ผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (Care Giver)  ปี 2559 1. นางมาลี  อินทะนุ  ศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลา 2. นายกมลพันธ์ กุณฑโร  ศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลา 3. นางทองเพียน นาคน้อย    ศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์ 4. นางจริยา มัจฉาวานิช      ศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์ 5. นางบงกช สุวัฒนกุล  ศูนย์สุขภาพชุมชนใจกลางเมือง 6. นางจุรี จามิตร  ศูนย์สุขภาพชุมชนใจกลางเมือง 7. นางพรเพ็ญ สองเมือง  ศูนย์สุขภาพชุมชนพาณิชย์สร้างสุข 8. นางกมลทิพย์ บุญยอด  ศูนย์สุขภาพชุมชนพาณิชย์สร้างสุข 9. นางลัดดา บัวใหญ่  ศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบว์รวมใจ 10. นางกุศลี นิลพันธ์  ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง 11. นางเครือวัลย์ สุชลพานิช  ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง 12. นางสาวสนธยา ชิดเชื้อบูรณะ ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง 13. นางอรทัย แก้วเกตุ  ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง 14. น.ส.สุทธิดารัตน์ ตันทยานนท์ ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง 15. นางสุพิศ สำเภาทอง  ศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ 16. นางยุพิน อู่ทอง ศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ 17. นางวารีลักษณ์ กาเลี่ยง  ศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ 18. นางปราณี วารีชล  ศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ 19. นางสุภาพ สุริยผล ศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ 20. นายวัชระ ประณิธิพงศ์ ศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ - ผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (Care Giver) เพิ่มเติม ปี 2560 1. นางสมจิต ฟุ้งทศธรรม  ศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลา
    2. นางอมรรัตน์ สุวรรณโชติ  ศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์ 3. นางสุไพ ชาตะรัตน์ ศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์ 4. นางเฉิดนภา ธรรมรัตน์  ศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์ 5. นางสาวมินตรา คำสอน ศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์

    1. นางวรรณี ถาวรเจริญ      ศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์
    2. นางสาวพัชราพร ศรเกลี้ยง  ศูนย์สุขภาพชุมชนใจกลางเมือง
    3. นางสาวรัชนี นะมาเส  ศูนย์สุขภาพชุมชนใจกลางเมือง
    4. นางสาวิภา จันทะ ศูนย์สุขภาพชุมชนพาณิชย์สร้างสุข
    5. นางสิริพรรณ อำพะมะ  ศูนย์สุขภาพชุมชนพาณิชย์สร้างสุข
    6. นางสาวฐิติรัตน์ เฉลิมวงศ์  ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง
    7. นางสาวรัชนี จันทมุย ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง
    8. นางนุกูล โกศล  ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง
    9. นางนิภา มั่นทอง  ศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ

    - ผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (Care Giver) เพิ่มเติม ปี 2561 1. นางมณฑา แซ่เล่า ศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบว์รวมใจ 2. นางประพิณ สันตะพันธ์ ศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบว์รวมใจ 3. นางมณฑา ช่วยจวน ศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบว์รวมใจ 4. นางวรรณี จันทร์คง ศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์ 5. นางอุไรวรรณ คงยัง ศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ - ผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (Care Giver) เพิ่มเติม ปี 2562 1. นายคฑาวุฒิ  ดีแก้ว ศูนย์สุขภาพชุมชนใจกลางเมือง 2.นางอรุณี    เดโชรัตน์ ศูนย์สุขภาพชุมชนใจกลางเมือง 3. นางสาวปิยพร ผิวนวล ศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์ 4. นางดารารัตน์ บุญช่วย ศูนย์สุขภาพชุมชนพาณิชย์สร้างสุข 5.นางซ่อนกลิ่น เฮงสมบูรณ์ ศูนย์สุขภาพชุมชนพาณิชย์สร้างสุข 6. นางสาวปิยาณี เซ่งขุนทอง ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง 7. นางพวงทิพย์  สุวรรณ ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง ๓.๓ อัตราส่วนบุคลากร Care Manager : Care Giver เท่ากับ 1 : 3.50 ๔. ผลการดำเนินงาน - ผู้สูงอายุออกนอกพื้นที่ 1 คน ได้แก่ 1. นางสาวรวยริน  จิตมานะ ศูนย์สุขภาพชุมชน
    - ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงที่เสียชีวิต (งบกองทุน LTC) จำนวน 15 คน ได้แก่
    1. นางทรัพย์ คงทองเจริญ ศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลา 2. พระครูมุนีวงศานุวัตร มุนิววโส ศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลา 3. นางสุทธิ สัตยพิจิตร ศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลา 4. นางแดง นัคเร ศูนย์สุขภาพชุมชนใจกลางเมือง 5. นายณรงค์ ผ่องฉวี ศูนย์สุขภาพชุมชนใจกลางเมือง 6. นางนันทวรรณ ปิ๋วสวัสดิ์ ศูนย์สุขภาพชุมชนใจกลางเมือง 7. นายกลัด กาญจนถาวร ศูนย์สุขภาพชุมชนใจกลางเมือง 8. นายใช้ ลั่นคีรี ศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์ 9. นางจวบ แดงคง ศูนย์สุขภาพชุมชนพาณิชย์สร้างสุข 10. นางเขิม สงสังข์ ศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบร์รวมใจ       11. นางหนูนิน ฉุ้นฮก  ศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบร์รวมใจ       12. นายพัน  ชูสวัสดิ์      ศูนย์  ศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบร์รวมใจ 13. นางเปี่ยม ศิริมงคล      ศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ 14. นายสนิท  อินทรสูต  ศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ 15. นางอุทัย คงจันทร์ ศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ - ผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงที่เสียชีวิต จำนวน 4 คน ได้แก่ (งบกองทุนตำบล) 1. นายเสรี สุขจันทร์  ศูนย์สุขภาพชุมชนพาณิชย์สร้างสุข 2. นางเคลื่อน เพ็ชรจำรัส ศูนย์สุขภาพชุมชนพาณิชย์สร้างสุข 3. นางพิศ  ช่วยจวน  ศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบร์รวมใจ 4. นางอิ่ม จันทสะโร ศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ - ผู้สูงอายุรายใหม่ที่จัดบริการดูแลทดแทนรายเก่าที่เสียชีวิต (งบกองทุน LTC) จำนวน 10 คน ได้แก่ 1. นางแดง สังข์ทอง ศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลา 2.นางประไพ ขาวเขียว ศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลา 3. นางนิมิต พลายชมพู ศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลา 4. นายสอด แซ่ตั๋น  ศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลา 5. นางสมพิศ สายทอง      ศูนย์สุขภาพชุมชนใจกลางเมือง
    6. นางกิ้มเอี้ยน  ลั่นคีรี ศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์ 7. นางกิ้มพงศ์  สุชาดา      ศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์ 8. นายรัตน เพชรคง ศูนย์สุขภาพชุมชนพาณิชย์สร้างสุข 9. นายสมยศ อัมราพิทักษ์ ศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ 10. นายภู่ รักนุ้ย ศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ - ผู้ที่มีภาวะรายใหม่ที่จัดบริการดูแลทดแทนรายเก่าที่เสียชีวิต (งบกองทุนตำบล) จำนวน 4 คน ได้แก่ 1. นางสาวพะเยาว์  บุญยะฤทธิ์  ศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลา 2. นายสุทธิชัย บูรณธรรม  ศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์ (เสียชีวิต) 3. นายถวิล นวลทอง  ศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์ (เสียชีวิต) 4. นายปานเทพ ชุมทอง  ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง

    4.1 งบประมาณที่ใช้ดำเนินงาน
    - จำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงตามข้อเสนอ จำนวน 68 คน - จำนวนผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงตามข้อเสนอ จำนวน 22 คน 4.2 งบประมาณทีได้จัดสรร 4.2.1. กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง จำนวน 340,000 บาท
      4.2.1.1 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานของ Care giver  จำนวน 164,010 บาท
            - ประจำเดือนพฤศจิกายน 2561 – เดือนมกราคม 2562 จำนวน 37,660 บาท - ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2562 – เมษายน 2562 จำนวน 41,720 บาท - ประจำเดือนพฤษภาคม 2562 – กรกฎาคม 2562 จำนวน 42,770 บาท - ประจำเดือนสิงหาคม 2562 – ตุลาคม 2562 จำนวน 41,860 บาท           4.2.1.2 ค่าวัสดุสิ้นเปลืองทางการแพทย์ที่จำเป็น จำนวน 72,062 บาท
    - ครั้งที่ 1 จำนวน 72,062 บาท
    งบประมาณทีใช้ จำนวน 236,072 บาท งบประมาณคงเหลือ จำนวน 103,928 บาท คณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงอนุมัติให้ดำเนินโครงการจัดบริการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง เทศบาลนครสงขลา ปี 2562 (ต่อเนื่อง) จำนวน 103,628 บาท

    4.2.2. กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (ต่อเนื่อง)  จำนวน 103,628 บาท 4.2.2.1 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานของ Care giver  จำนวน 39,480 บาท
    - ประจำเดือนพฤศจิกายน 2562 – กุมภาพันธ์ 2563 จำนวน 39,480 บาท   4.2.2.2 ค่าวัสดุสิ้นเปลืองทางการแพทย์ที่จำเป็น จำนวน 60,388 บาท
    - ครั้งที่ 2 จำนวน 60,388 บาท งบประมาณทีใช้ จำนวน 99,868 บาท งบประมาณคงเหลือ จำนวน  3,760 บาท

    4.2.3 กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง  จำนวน 110,000 บาท 4.2.3.1 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานของ Care giver  จำนวน 56,140 บาท
            - ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2562 – เมษายน 2562 จำนวน 11,900 บาท - ประจำเดือนพฤษภาคม 2562 – กรกฎาคม 2562 จำนวน 15,260 บาท - ประจำเดือนสิงหาคม 2562 – ตุลาคม 2562 จำนวน 15,540 บาท                 - ประจำเดือนพฤศจิกายน 2562 – กุมภาพันธ์ 2563 จำนวน 13,440 บาท           4.2.1.2 ค่าวัสดุสิ้นเปลืองทางการแพทย์ที่จำเป็น จำนวน 46,217 บาท
    - ครั้งที่ 1 จำนวน 18,597 บาท - ครั้งที่ 2 จำนวน 27,620 บาท งบประมาณทีใช้ จำนวน 102,357 บาท งบประมาณคงเหลือ จำนวน  7,643 บาท งบประมาณทีใช้จริงทั้งหมด จำนวน 438,297 บาท งบประมาณคงเหลือทั้งหมด จำนวน  11,403 บาท
    ๔.3 กิจกรรมการดำเนินงาน ของCare Manager โดยสรุป (๑) การประเมินภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุ (๒) จัดทำแผนการพยาบาล Care plan
    (๓) ประชุมทีมสหวิชาชีพ วางแผนการช่วยเหลือ (๔) ติดตามประเมินผลการปฏิบัติงาน ของ Care giver
    ๔.4 กิจกรรมการดำเนินงานของ Care Giver โดยปฏิบัติงานตามแผนการพยาบาล ดังนี้ (๑) การฟื้นฟูด้านกายภาพบำบัด
    (๒) ประสานงานการทำบัตรผู้พิการ
    (๓) ประสานงานการส่งตรวจเลือด
    (๔) การดูแลการรับประทานอาหาร (๕) การดูแลสุขอนามัยทั่วไป ๕. ปัญหาอุปสรรค / ข้อเสนอแนะ
    5.1 จำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง บางส่วนอาจยังไม่สามารถเข้าถึงบริการได้ 5.2 เกิดความสับสนในบางชุมชน ว่า ทำไม ผู้สูงอายุบางคนจึงไม่ได้รับผ้าอ้อมหรือการดูแลจาก Care Giver ข้อเสนอแนะ - เพิ่มการประชาสัมพันธ์ แจ้งผ่าน อสม. และ ผู้นำชุมชน สำรวจผู้สูงอายุในพื้นที่ และแจ้งข้อมูลมายังหน่วยบริการสาธารณสุขในพื้นที่   - ขอความร่วมมือ จาก อสม. และ ผู้นำชุมชน ในการประชาสัมพันธ์ หลักเกณฑ์ และแนวทางการสนับสนุนการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง ในพื้นที่เทศบาลนครสงขลา ได้รับการบริการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขตามแผนการดูแลรายบุคคล ตามชุดสิทธิประโยชน์การบริการด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๑๐๐ ของผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในโครงการ ฯ ได้รับบริการการดูแลทางสุขภาพเชิงรุกตามแผนการพยาบาล
    0.00 0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 22 22
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ 22 22
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง ในพื้นที่เทศบาลนครสงขลา ได้รับการบริการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขตามแผนการดูแลรายบุคคล ตามชุดสิทธิประโยชน์การบริการด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการจัดบริการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง เทศบาลนครสงขลา ปี 2562 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 62-L7250-1-09

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( (นางบงกช พันธ์คง) ผู้จัดการระบบการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุข ศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด