กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบางเหรียง


“ โครงการติดตามดูแลผู้ป่วย intermediate care อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา ”

ตำบลบางเหรียง อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการติดตามดูแลผู้ป่วย intermediate care อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา

ที่อยู่ ตำบลบางเหรียง อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-L5171-1-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 25 มีนาคม 2562 ถึง 31 สิงหาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการติดตามดูแลผู้ป่วย intermediate care อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางเหรียง อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบางเหรียง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการติดตามดูแลผู้ป่วย intermediate care อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการติดตามดูแลผู้ป่วย intermediate care อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางเหรียง อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L5171-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 25 มีนาคม 2562 - 31 สิงหาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 52,800.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบางเหรียง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

แนวคิดเกี่ยวกับการดูแลแบบ Intermediate care เป็นแนวคิดที่ช่วยแก้ปัญหาในเรื่องของการดูแลผู้ป่วยที่เชื่อมประสานช่องว่างการดูแลแบบระยะเฉียบพลัน (Acute care ) ในสถานพยาบาลและการดูแลที่บ้านหรือการดูแลในชุมชน (Community care ) โดยการดูแลแบบระยะกลางเป็นการดูแลระยะที่ถือได้ว่าเป็นลดขั้นตอนของการดูแลที่มีความซับซ้อนของการดูแลที่ลดหลั่นลงกว่าการดูแลแบบเฉียบพลัน (Down step) วึ่งความเป็นจริงมีผู้ป่วยอีกจำนวนมากไม่ว่าจะเป็นผู้ป่วยหรือผู้สูงอายุที่ยังไม่พร้อมสำหรับการดูแลต่อเนื่องในการฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายและการเตรียมความพร้อมของผู้ดูแลเพื่อสามารถรับมือการดูแลต่ิเนื่องที่บ้านได้ ในการนี้โรงพยาบาลควนเนียง ได้เล็งเห็นความสำคัญ จึงจัดทำโครงการติดตามดูแลผู้ป่วย intermediate care อำเภอควนเนียงขึ้น โดยมีการดำเนินการค้นหาและติดตามผู้ป่วย intermediate care เชิงรุกและปรับโครงสร้างทางกายภาพในชุมชน มีการประสานงานและทำการฟื้นฟูสมรรถภาพต่อเนื่อง เพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วย intermediate care มีคุณภาพชีวิตที่ดีสามารถดำรงอยู่ในสังคมได้อย่างมีศักดิ์ศรี และการพัฒนาระบบการติดตามดูแลฟื้นฟูสรรถภาพอย่างต่อเนื่อง เพื่อป้องกันความพิการและภาวะแรกซ้อน รวมทั้งพัฒนาศักยภาพของผู้ป่วย โดยให้ครอบครัวและชุมชนมี่ส่วนร่วม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อติดตามดูแลกลุ่มเป้าหมายที่ไม่จำเป็นได้รับการรักษาในโรงพยาบาล
  2. 2. เพื่อให้บริการที่ตั้งพื้นฐานความสามารถของภาวะสุขภาพของแต่ละราย
  3. 3. เพื่อให้ผู้รับบริการสามารถดูแลและช่วยเหลือตนเองได้มากที่สุด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.กิจกรรมการอบรมตัวแทนอสม.สำหรับประเมินภาวะสุขภาพและฟื้นฟูผู้ป่วย intermediate care
  2. 2. ติดตามเยี่ยมบ้านและฟื้นฟู intermediate care โดย อสม. ที่ผ่านการอบรม
  3. 3. ค่าจัดอุปกรณ์และเอกสารสำหรับกิจรรม
  4. 4. ค่าทำอุปกรณ์และปรับสภาพบ้านให้เหมาะสมกับผู้ป่วยแต่ละราย
  5. 5 ประชุม อสม. เพื่อสรุปและมอบหมอบให้พื้นที่ดำเนินต่อเนื่อง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ป่วย intermediate care ได้ทราบภาวะสุขภาพ และปัญหาสุขภาพของตนเอง 2.อสม. และผู้ดูแลมีความรู้ความเข้าในในการดูแลและผู้ป่วย ผู้ป่วย intermediate care อย่างถูกต้องเหมาะสม ส่งผลให้ช่วยชะลออัตรการเกิดโรคที่จำนำไปสู่ภาวะเรื้องรัง และภาวะแทรกซ้อนต่างๆได้
  2. ผู้ป่วย intermediate care ตอดบ้าน ติดเตียงได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพ และได้รับโปรแกรรมการฟื้นฟูสรรถภาพที่บ้านอย่างเหมาะสม

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อติดตามดูแลกลุ่มเป้าหมายที่ไม่จำเป็นได้รับการรักษาในโรงพยาบาล
ตัวชี้วัด : 1. ผู้ป่วย intermediate care ได้รับการดูแลฟื้นฟูต่อเนื่องมีคะแนน BI เพิ่มขึ้น 2 คะแนน ภาวใน 2 เดือน
0.00

 

2 2. เพื่อให้บริการที่ตั้งพื้นฐานความสามารถของภาวะสุขภาพของแต่ละราย
ตัวชี้วัด : 2. ผู้ป่วย intermediate care ได้รับการดูแลฟื้นฟูต่อเนื่องมากกว่า ร้อยละ 75 โดยการประเมินความรู้ก่อนและหลังการเข้าร่วมโครงการ
0.00

 

3 3. เพื่อให้ผู้รับบริการสามารถดูแลและช่วยเหลือตนเองได้มากที่สุด
ตัวชี้วัด : 3. ผู้ป่วย intermediate care กลุ่มติดบ้าน ติดเตียง ที่ได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพ และญาติหรือผู้ดูแล สามารถให้การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยที่บ้านได้มากกว่าร้อยละ 75 โดยการประเมินทวนสอบความสามารถในการฟื้นฟูสมรรถภาพของผู้ป่วยและญาติ
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อติดตามดูแลกลุ่มเป้าหมายที่ไม่จำเป็นได้รับการรักษาในโรงพยาบาล (2) 2. เพื่อให้บริการที่ตั้งพื้นฐานความสามารถของภาวะสุขภาพของแต่ละราย (3) 3. เพื่อให้ผู้รับบริการสามารถดูแลและช่วยเหลือตนเองได้มากที่สุด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.กิจกรรมการอบรมตัวแทนอสม.สำหรับประเมินภาวะสุขภาพและฟื้นฟูผู้ป่วย intermediate care (2) 2. ติดตามเยี่ยมบ้านและฟื้นฟู intermediate care โดย อสม. ที่ผ่านการอบรม (3) 3. ค่าจัดอุปกรณ์และเอกสารสำหรับกิจรรม (4) 4. ค่าทำอุปกรณ์และปรับสภาพบ้านให้เหมาะสมกับผู้ป่วยแต่ละราย (5) 5 ประชุม อสม. เพื่อสรุปและมอบหมอบให้พื้นที่ดำเนินต่อเนื่อง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการติดตามดูแลผู้ป่วย intermediate care อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-L5171-1-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด