กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบุดี


“ โครงการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุวิถีชุมชน ”

ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวสมคิด สุวรรณสังข์

ชื่อโครงการ โครงการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุวิถีชุมชน

ที่อยู่ ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 60-L4135-1-5 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุวิถีชุมชน จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบุดี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุวิถีชุมชน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุวิถีชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 60-L4135-1-5 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,950.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบุดี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากความก้าวหน้าด้านการแพทย์และสาธารณสุขของประเทศไทยทำให้อัตราการเกิดน้อยลงประชากรมีอายุยืนยาวมากขึ้น ซึ่งมีการคาดการณ์ว่า ปี พ.ศ. 2546 ประเทศไทยจะกลายเป็นสังคมสูงวัยอย่างสมบูรณ์(Aged Society) จากปัญหาดังกล่าวทำให้แนวโน้มผู้สูงอายุในประเทศไทยจะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยร้อยละ 95 ของผู้สูงอายุมีความเจ็บป่วยด้วยโรคอย่างใดอย่างหนึ่ง ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน เข่าเสื่อม โรคซึมเศร้า และทุพพลภาพติดเตียง ขณะที่มีเพียงร้อยละ 5 เท่านั้นที่ไม่เป็นโรค และผู้สูงอายุเข้าถึงระบบบริการสุขภาพเพียงร้อยละ 56 รัฐบาลให้ความสำคัญกับการที่ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุและมีนโยบายด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุทุกกลุ่มมาอย่างต่อเนื่องโดยพบว่าประชากรสูงอายุเพิ่มขึ้นจาก 4 ล้านคน (ร้อยละ(6.8) ในปี 2537 เป็น10 ล้านคน (ร้อยละ14.9 ) ในปี 2557 และคาดว่าจะเพิ่มเป็น 20.5ล้านคน (ร้อยละ 32.1) ในปี 2553 และในปี 2558 กระทรวงสาธารณสุขดำเนินการประเมินคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ จำนวน 6,394,022 คนพบว่าเป็นกลุ่มติดสังคมร้อยละ 79 และเป็นผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงกลุ่มติดบ้านติดเตียงจำเป็นต้องสนับสนุนบริการด้านสุขภาพและสังคมร้อยละ 21 ในปี 2559รัฐบาลได้มุ่งเน้นในการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงทั้งกลุ่มติดบ้านและกลุ่มติดเตียงโดยมีเป้าหมายสำคัญคือทำอย่างไรจะป้องกันไม่ให้ผู้สูงอายุที่ยังแข็งแรงมีการเจ็บป่วยจนต้องอยู่ในภาวะพึ่งพิงและทำอย่างไรผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพึ่งพิงจะได้รับการดูแลอย่างเหมาะสม โดยทีมสหวิชาชีพในระดับปฐมภูมิซึ่งจัดบริการดูแลด้านสุขภาพถึงที่บ้านอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอตามปัญหาสุขภาพตามชุดสิทธิประโยชน์โดยการมีส่วนร่วมของครอบครัวชุมชนและท้องถิ่นส่งผลให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีอยู่ในสังคมอย่างมีศักดิ์ศรี โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบุดีมีผู้สูงอายุ จำนวน 686 คน คิดเป็นร้อยละ 11.70ของประชากรทั้งหมด พบว่าเป็นผู้สูงอายุติดสังคม 653 คิดเป็นร้อยละ 95.18 และเป็นผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงกลุ่มติดบ้าน จำนวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 4.37ติดเตียง จำนวน3คน ร้อยละ 0.43 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบุดี จึงได้จัดทำโครงการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุวิถีชุมชน ปีงบประมาณ 2560 ขึ้น เพื่อส่งเสริมสุขภาพร่างกาย จิตใจ และสังคม ให้แก่ผู้สูงอายุ โดยการมีส่วนร่วมของชุมชนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุสามารถดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงทั้งกลุ่มติดบ้านและกลุ่มติดเตียงได้
  2. 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีการพบปะ และแลกเปลี่ยนประสบการณ์การดูแลสุขภาพ
  3. 3. เพื่อพัฒนาชมรมผู้สูงอายุให้มีความเข้มแข็ง มีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน
  4. 4. เพื่อคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ(basic geriatric screening : BGS)
  5. 5. เพื่อส่งเสริมสุขภาพกาย จิต จิตวิญญาณ ของผู้สูงอายุ สามารถอยู่ร่วมในสังคมได้อย่างมีคุณค่า

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 50
    กลุ่มผู้สูงอายุ 130
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ชมรมผู้สูงอายุมีการพัฒนา และสามารถดำเนินกิจกรรมได้
    2. ผู้ดูแลผู้สูงอายุมีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงทั้งกลุ่มติดบ้านและกลุ่มติดเตียงได้
    3. ผู้สูงอายุมีสุขร่างกายแข็งแรงไม่ป่วยด้วยโรคหรือได้รับอุบัติเหตุที่เกิดจากการปฏิบัติตนที่ไม่ถูกต้อง
    4. เกิดความเข้าใจและสามัคคีระหว่างผู้สูงอายุด้วยกัน
    5. ผู้สูงอายุสามารถอยู่ร่วมในสังคมได้อย่างมีคุณค่า

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ประชุมสรรหาแต่งตั้งคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ

    วันที่ 8 กันยายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • มีชมรมผู้สูงอายุจำนวน 1 ชมรม
    • มีคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ หมู่ที่ 6 บ้านปูลานิบง ตำบลบุดี จำนวน 30 คน
    • ชมรมผู้สูงอายุมีการพัฒนา และสามารถดำเนินกิจกรรมได้

     

    30 30

    2. จัดอบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพแก่ผู้ดูแลผู้สูงอายุ

    วันที่ 11 กันยายน 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ผู้ดูแลผู้สูงอายุที่เข้าร่วมอบรมมีความรู้ในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ คิดเป็นร้อยละ 80
    • ผู้ดูแลผู้สูงอายุมีความรู้  และทักษะในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงทั้งกลุ่มติดบ้านและกลุ่มติดเตียงได้

     

    50 50

    3. จัดอบรมผู้สูงอายุ

    วันที่ 18 กันยายน 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีการพบปะ และแลกเปลี่ยนประสบการณ์การดูแลสุขภาพ
    • ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ ส่งผลให้มีสุขร่างกายแข็งแรงไม่ป่วยด้วยโรคหรือได้รับอุบัติเหตุที่เกิดจากการปฏิบัติตนที่ไม่ถูกต้อง
    • เกิดความเข้าใจและสามัคคีระหว่างผู้สูงอายุด้วยกัน
    • ผู้สูงอายุสามารถอยู่ร่วมในสังคมได้อย่างมีคุณค่า

     

    50 50

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1.มีชมรมผู้สูงอายุจำนวน 1 ชมรม 2.ผู้สูงอายุที่ติดบ้านติดเตียงได้รับการดูแลคิดเป็นร้อยละ 100 3.ผู้ดูแลผู้สูงอายุที่เข้าร่วมอบรมมีความรู้ในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ คิดเป็นร้อยละ 80 4.แบบประเมินความพึงพอใจเข้าร่วมอบรมมีความรู้ในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ คิดเป็นร้อยละ 80

    สิ่งที่ได้รับจากการทำโครงการ 1.เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบุดีมีโอกาสสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ดูแลผู้สูงอายุ 2.เจ้าหน้าที่มีโอกาสเรียนรู้อุปสรรคในการดูแลผู้สูงอายุ 3.ได้เห็นความร่วมมือของผู้ดูแลผู้สูงอายุในการเข้าร่วมกิจกรรมครั้งนี้ 4.ได้เห็นข้อบกพร่องในการกิจรรมเพื่อเป็นบทเรียนปรับปรุงในโครงการครั้งต่อไปได้ 5.เกิดชมรมผู้สูงอายุนำร่อง 1 ชมรม

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุสามารถดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงทั้งกลุ่มติดบ้านและกลุ่มติดเตียงได้
    ตัวชี้วัด :

     

    2 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีการพบปะ และแลกเปลี่ยนประสบการณ์การดูแลสุขภาพ
    ตัวชี้วัด :

     

    3 3. เพื่อพัฒนาชมรมผู้สูงอายุให้มีความเข้มแข็ง มีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน
    ตัวชี้วัด :

     

    4 4. เพื่อคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ(basic geriatric screening : BGS)
    ตัวชี้วัด :

     

    5 5. เพื่อส่งเสริมสุขภาพกาย จิต จิตวิญญาณ ของผู้สูงอายุ สามารถอยู่ร่วมในสังคมได้อย่างมีคุณค่า
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 180
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 50
    กลุ่มผู้สูงอายุ 130
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุสามารถดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงทั้งกลุ่มติดบ้านและกลุ่มติดเตียงได้ (2) 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีการพบปะ และแลกเปลี่ยนประสบการณ์การดูแลสุขภาพ (3) 3. เพื่อพัฒนาชมรมผู้สูงอายุให้มีความเข้มแข็ง มีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน (4) 4. เพื่อคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ(basic geriatric screening : BGS) (5) 5. เพื่อส่งเสริมสุขภาพกาย จิต จิตวิญญาณ ของผู้สูงอายุ สามารถอยู่ร่วมในสังคมได้อย่างมีคุณค่า

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุวิถีชุมชน จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 60-L4135-1-5

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวสมคิด สุวรรณสังข์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด