กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาเมืองเพชร


“ โครงการปรับพฤติกรรม ลดเสี่ยงเลี่ยงไตวาย ”

ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางราตร๊ แก้วกูล

ชื่อโครงการ โครงการปรับพฤติกรรม ลดเสี่ยงเลี่ยงไตวาย

ที่อยู่ ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 62-L1523-1-07 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับพฤติกรรม ลดเสี่ยงเลี่ยงไตวาย จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาเมืองเพชร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับพฤติกรรม ลดเสี่ยงเลี่ยงไตวาย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับพฤติกรรม ลดเสี่ยงเลี่ยงไตวาย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 62-L1523-1-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,918.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาเมืองเพชร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่นโยบายของกระทรวงสาธารณสุข ได้ไห้ความสำคัญกับกระบวนการมีส่วนร่วมของทุกคนภาคส่วนในสังคมในการพัฒนาประเทศด้านต่างๆโดยเฉพาะด้านการเสริมสร้างสุขภาวะให้คนไทยมีสุขภาพแข็งแรงทั้งกายและใจสามารถดูแลตนเองได้โดยมุ่งเน้นการพัฒนาทุนสังคมและภูมิปัญญาชุมชนตลอดจนการมีส่วนร่วมของชุมชนจากสถานการณ์โรคไตของประเทศไทย พบว่าปี 2561 พบว่าขณะนี้คนไทยป่วยเป็นโรคไตเรื้อรังประมาณ 8 ล้านคน ในจำนวนนี้เป็นผู้ป่วยอยู่ในระยะสุดท้าย 2 แสนคน และผู้ป่วยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นร้อยละ 15-20 ต่อปี มีผู้เสียชีวิตจากไตวายปีละ 13,000 กว่าคน ซึ่ง 1 ใน 3 อายุน้อยกว่า 60 ปี ผู้ป่วยไต 1 คน จะมีค่าใช้จ่ายเฉลี่ยอยู่ที่ 30,000 บาท/คน/เดือน เพราะต้องได้รับการฟอกไตด้วยวิธีฟอกเลือด หรือล้างไตผ่านหน้าท้อง ซึ่งมีค่าใช้จ่ายสูง ทำให้แต่ละปีต้องใช้งบประมาณถึง 20,000 ล้านบาท  นอกจากนี้เมื่อป่วยยังทำให้คุณภาพชีวิตต่ำลง เสี่ยงการติดเชื้อแทรกซ้อนและไม่สามารถทำงานได้ตามปกติ กระทรวงสาธารณสุขได้ร่วมกับภาคีเครือข่าย จัดทำแนวทางการพัฒนาเครือข่ายระบบบริการสาขาโรคไตเพื่อลดกลุ่มเสี่ยง ชะลอการเสื่อมของไตในผู้ป่วยไตเรื้อรังทุกระยะ เพิ่มการเข้าถึงบริการโรคไตที่มีคุณภาพเสมอภาคทุกเครือข่าย
จากผลการดำเนินงานคัดกรองภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาเมืองเพชร พบว่าอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนทางไตของผู้ป่วยเพิ่มมากขึ้นทุกปี ในปี พ.ศ.2560 พบมีภาวะไตเสื่อม CKD มากกว่าหรือเท่ากับ Stage 3 จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 6.87 และในปี พ.ศ. 2561พบมีภาวะไตเสื่อม CKD มากกว่าหรือเท่ากับ Stage 3 จำนวน 36 คน คิดเป็นร้อยละ 11.50 ผู้ป่วยจำนวนดังกล่าวมีแนวโน้มที่จะต้องฟอกไตในอนาคตถ้ายังไม่ได้รับการรักษา ส่งเสริม และฟื้นฟูอย่างถูกต้องในการแก้ไขป้องกันปัญหาโรคไตวาย
จากสภาพปัญหาดังกล่าวโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาเมืองเพชรเล็งเห็นถึงแนวโน้มการเกิดภาวะแทรกซ้อนไตวายในผู้ป่วยโรคเรื้อรังจึงได้จัดทำโครงการพฤติกรรม ลดเสี่ยงเลี่ยงไตวายเพื่อชะลอภาวะไตวาย และป้องกันไม่ให้ไตวายอันจะส่งผลต่อการต้องล้างไตในอนาคต

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. (๑) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง แกนนำสุขภาพ มีความรู้ / ตระหนักในการดูแลสุขภาพ ป้องกันภาวะไตวายเรื้อรัง (๒) เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง ที่มีภาวะไตเสื่อม CKD มากกว่าหรือเท่ากับ Stage 3 ได้รับการดูแล/ป้องกันโรคไตวายเรื้อรังที่มีคุณภาพ (3) เพื่อให้เกิดเครือข่ายภาคสุขภาพในการดูแล/ป้องกันปัญหาโรคไตวายเรื้อรังในกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 อบรมพัฒนาศักยภาพ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมแก่ผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่มีอัตราการกรองของไต Stage 1,2 แกนนำสุขภาพ (กลุ่ม อสม.)
  2. กิจกรรมที่ 2 อบรมพัฒนาศักยภาพการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่มีภาวะแทรกซ้อนทางไต Stage 3 ร่วมกับผู้ดูแล
  3. กิจกรรมที่ 4 จัดทำกิจกรรมกลุ่ม Self-health -group
  4. กิจกรรมที่ 3 ทีมหมอครอบครัวติดตามเยี่ยมบ้าน ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีภาวะแทรกซ้อนทางไต Stage 3หลังอบรม 2 สัปดาห์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 72
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีภาวะไตเสื่อม สามารถปฏิบัติตัวได้ถูกต้อง ผู้ดูแลให้ความร่วมมือและสามารถให้กำลังใจแก่ผู้ป่วย เพื่อชะลอภาวะเสื่อมของไตได้ดีขึ้น อันจะนำไปสู่การสร้างสุขภาพมีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 (๑) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง แกนนำสุขภาพ มีความรู้ / ตระหนักในการดูแลสุขภาพ ป้องกันภาวะไตวายเรื้อรัง (๒) เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง ที่มีภาวะไตเสื่อม CKD มากกว่าหรือเท่ากับ Stage 3 ได้รับการดูแล/ป้องกันโรคไตวายเรื้อรังที่มีคุณภาพ (3) เพื่อให้เกิดเครือข่ายภาคสุขภาพในการดูแล/ป้องกันปัญหาโรคไตวายเรื้อรังในกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : (๑) ร้อยละ 80 ของผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง แกนนำสุขภาพ มีความรู้/ตระหนักในการดูแลสุขภาพ ป้องกันภาวะไตวายเรื้อรัง (2) ร้อยละ 80 ของผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีภาวะแทรกซ้อนทางไต Stage 3 มีค่า Cr. ลดลง (3) ร้อยละ 80 ของผู้ป่วยเรื้อรังที่มีภาวะแทรกซ้อนทางไต Stage 3 ได้รับติดตามการเยี่ยม บ้านทีมหมอครอบครัว
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 72
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 72
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) (๑) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง แกนนำสุขภาพ มีความรู้ / ตระหนักในการดูแลสุขภาพ ป้องกันภาวะไตวายเรื้อรัง  (๒) เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง ที่มีภาวะไตเสื่อม CKD มากกว่าหรือเท่ากับ Stage 3  ได้รับการดูแล/ป้องกันโรคไตวายเรื้อรังที่มีคุณภาพ            (3) เพื่อให้เกิดเครือข่ายภาคสุขภาพในการดูแล/ป้องกันปัญหาโรคไตวายเรื้อรังในกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1    อบรมพัฒนาศักยภาพ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมแก่ผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่มีอัตราการกรองของไต Stage 1,2 แกนนำสุขภาพ (กลุ่ม อสม.) (2) กิจกรรมที่ 2    อบรมพัฒนาศักยภาพการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่มีภาวะแทรกซ้อนทางไต Stage 3 ร่วมกับผู้ดูแล (3) กิจกรรมที่ 4 จัดทำกิจกรรมกลุ่ม Self-health -group (4) กิจกรรมที่ 3 ทีมหมอครอบครัวติดตามเยี่ยมบ้าน ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีภาวะแทรกซ้อนทางไต Stage 3หลังอบรม 2 สัปดาห์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปรับพฤติกรรม ลดเสี่ยงเลี่ยงไตวาย จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 62-L1523-1-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางราตร๊ แก้วกูล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด