โครงการชุมชนต้นแบบปลอดบุหรี่ (บ้านปูลานิบง)
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการชุมชนต้นแบบปลอดบุหรี่ (บ้านปูลานิบง) ”
ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวสมคิด สุวรรณสังข์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบุดี
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการชุมชนต้นแบบปลอดบุหรี่ (บ้านปูลานิบง)
ที่อยู่ ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 60-L4135-1-6 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการชุมชนต้นแบบปลอดบุหรี่ (บ้านปูลานิบง) จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบุดี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนต้นแบบปลอดบุหรี่ (บ้านปูลานิบง)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการชุมชนต้นแบบปลอดบุหรี่ (บ้านปูลานิบง) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 60-L4135-1-6 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบุดี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การสูบบุหรี่เป็นสาเหตุของการเจ็บป่วยและเสียชีวิตก่อนเวลาอันควรลำดับที่สองของคนไทย โดยประมาณหนึ่งในหกของชายไทยและหนึ่งในยี่สิบห้าของหญิงไทยที่เสียชีวิตมีสาเหตุมาจากการสูบบุหรี่ ปี 2557 ผลสำรวจพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของประชากรไทย อายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไปโดยสำนักงานสถิติแห่งชาติ พบว่าจำนวนผู้สูบบุหรี่ปัจจุบัน จำนวน 11.4 ล้านคน คิดอัตราการสูบบุหรี่ 20.7%โดยแยกผู้สูบประจำ จำนวน 10.0 ล้านคน สูบเป็นครั้งคราวจำนวน 1.4ล้านคนเคยสูบ แต่เลิกแล้วจำนวน 3.7 ล้านคนอัตราการสูบบุหรี่ปัจจุบันในเยาวชนกลุ่มอายุ 15 - 18 ปี จำนวน 353,898 คน คิดเป็นอัตรา 8.3 %กลุ่มอายุ 19 - 24 ปี จำนวน 1,059,839 คน คิดอัตรา 19.8 % เด็กไทยติดบุหรี่ใหม่เพิ่มปีละ 200,000 คน ติดก่อนอายุ 18 ปี จากสถิติที่ผ่านมาพบว่าร้อยละ 70 ของเยาวชนที่ติดบุหรี่จะติดไปตลอดชีวิต ส่วนร้อยละ 30 จะเลิกได้หลังจากติดบุหรี่ไปแล้วเป็นเวลา 20 ปี (ข้อมูลรวบรวมโดย คร.ศรัณญา เบญจกุล คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล)
ชุมชน ถือว่าเป็นศูนย์กลางทางวัฒนธรรมที่ยึดเหนี่ยวทางจิตใจของประชาชน คติความเชื่อ ประเพณีท้องถิ่น เป็นศูนย์รวมให้ชาวบ้านกับชุมชนมีความสัมพันธ์กันอย่างเหนียวแน่น และเป็นสัญลักษณ์ทางกายภาพและจิตวิญญาณที่มีเอกลักษณ์เฉพาะแต่ละท้องถิ่น ชุมชนต้นแบบในสร้างสุขภาพ จึงเป็นรูปแบบหนึ่งโดยใช้คนในชุมชนเป็นศูนย์กลางในการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมให้ กับประชาชน ชุมชน โดยมีคณะกรรมการขับเคลื่อนเพื่อให้ประชาชนในหมู่บ้านมีการส่งเสริมสุขภาพที่ดี มีการจัดสภาพสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพ และเกิดการมีส่วนร่วมของบุคลากรที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง โดยให้ชุมชนเอื้อโอกาสต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในชุมชนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบุดี จึงดำเนินโครงการชุมชนต้นแบบเพื่อขับเคลื่อนให้ “ชุมชนปลอดบุหรี่” เป็นสถานที่พัฒนาทั้งร่างกาย จิตใจ สังคม ประเพณี วัฒนธรรม เพื่อสุขภาพที่ดีของประชาชน ครอบครัว และชุมชนด้วยหลักการส่งเสริมสุขภาพ 5 ร. คือ ร่มรื่นสะอาดปลอดควันบุหรี่ร่มเย็นสงบสดชื่นปลอดโรคร่วมสร้างสุขภาพ 3 อ 2 ส ร่วมจิตวิญญาณสร้างสุขภาพ และร่วมคิดร่วมพัฒนาและตอบสนองนโยบายของกระทรวงสาธารณสุขในการขับเคลื่อนโครงการ 3 ล้าน 3 ปีเลิกบุหรี่ ทั่วไทย เทิดไท้องค์ราชัน”
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ประชาขนในชุมชนกลุ่มวันทำงานและกลุ่มเสี่ยง ลด ละ เลิกสูบบุหรี่ ร้อยละ 10
- เพื่อเป็นชุมชนต้นแบบปลอดบุหรี่ 1 ตำบล 1 ชุมชน
- เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการชุมชนต้นแบบในการขับเคลื่อนโครงการชุมชนต้นแบบปลอดบุหรี่ตอบสนองนโยบายของกระทรวงสาธารณสุขในการขับเคลื่อนโครงการ 3 ล้าน 3 ปีเลิกบุหรี่ ทั่วไทย เทิดไท้องค์ราชัน”
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
30
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนในชุมชนกลุ่มวัยทำงานและกลุ่มเสี่ยงสามารถเลิกสูบบุหรี่และเป็นต้นแบบ อย่างน้อย1 คน 1 ชุมชน
- บ้านปูลานิบงเป็นชุมชนต้นแบบปลอดบุหรี่ 1 ตำบล 1 ชุมชน
- เกิดพลังการขับเคลื่อนการมีส่วนร่วมของประชาชน และผู้เกี่ยวข้องในการพัฒนาอย่างต่อเนื่องให้สามารถปกป้องเยาวชนจากบุหรี่และยาเสพติดตอบสนอง "โครงการ3 ล้าน 3 ปีเลิกบุหรี่ ทั่วไทย เทิดไท้องค์ราชัน”
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ประชุมชี้แจงโครงการ/แต่งตั้งคณะกรรมการ คณะทำงานขับเคลื่อน จำนวน 3 ครั้ง
วันที่ 25 สิงหาคม 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.มีคณะทำงาน/ทีมงานขับเคลื่อนโครงการชุมชนต้นแบบปลอดบุหรี่ในตำบล
2.สามารถพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการชุมชนต้นแบบในการขับเคลื่อนโครงการชุมชนต้นแบบปลอดบุหรี่ ตอบสนองนโยบายของกระทรวงสาธารณสุขในการขับเคลื่อนโครงการ 3 ล้าน3ปี เลิกบุหรี่ ทั่วไทย เทิดไท้องค์ราชัน” จำนวน 30 คน
30
30
2. การเดินรณรงค์สร้างกระแส ลด ละ เลิกสูบบุหรี่
วันที่ 15 กันยายน 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.ประชาชนในชุมชนกลุ่มวัยทำงานและกลุ่มเสี่ยงสามารถเลิกสูบบุหรี่และเป็นต้นแบบ อย่างน้อย1 คน1 ชุมชนตอบสนอง "โครงการ3 ล้าน 3 ปีเลิกบุหรี่ ทั่วไทย เทิดไท้องค์ราชัน”
2.เกิดพลังการขับเคลื่อนการมีส่วนร่วมของประชาชนและผู้เกี่ยวข้องในการพัฒนาอย่างต่อเนื่องให้สามารถปกป้องเยาวชนจากบุหรี่และยาเสพติด
50
50
3. อบรมบุคคลต้นแบบและเข้าคลินิคเลิกสูบบุหรี่
วันที่ 22 กันยายน 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ประชาชนในชุมชนกลุ่มวัยทำงานและกลุ่มเสี่ยงบ้านปูลานิบงสามารถลด ละ เลิกสูบบุหรี่ ร้อยละ 10
- ประชาชนในชุมชนกลุ่มวัยทำงานและกลุ่มเสี่ยงสามารถเลิกสูบบุหรี่และเป็นต้นแบบ อย่างน้อย1 คน1 ชุมชนตอบสนอง "โครงการ3 ล้าน 3 ปีเลิกบุหรี่ ทั่วไทย เทิดไท้องค์ราชัน"
30
30
4. ประชุมสรุปผลการดำเนินงานโครงการฯ
วันที่ 25 กันยายน 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
บ้านปูลานิบงเป็นชุมชนต้นแบบปลอดบุหรี่ 1 ตำบล 1 ชุมชน
30
30
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- ประชาชนในชุมชนกลุ่มวัยทำงานและกลุ่มเสี่ยงบ้านปูลานิบงสามารถลด ละ เลิกสูบบุหรี่ ร้อยละ 10
- บ้านปูลานิบงเป็นชุมชนต้นแบบปลอดบุหรี่ 1 ตำบล 1 ชุมชน
- สามารถพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการชุมชนต้นแบบในการขับเคลื่อนโครงการชุมชนต้นแบบปลอดบุหรี่ ตอบสนองนโยบายของกระทรวงสาธารณสุขในการขับเคลื่อนโครงการ 3 ล้าน3ปี เลิกบุหรี่ ทั่วไทย เทิดไท้องค์ราชัน” จำนวน 30 คน
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ประชาขนในชุมชนกลุ่มวันทำงานและกลุ่มเสี่ยง ลด ละ เลิกสูบบุหรี่ ร้อยละ 10
ตัวชี้วัด :
2
เพื่อเป็นชุมชนต้นแบบปลอดบุหรี่ 1 ตำบล 1 ชุมชน
ตัวชี้วัด :
3
เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการชุมชนต้นแบบในการขับเคลื่อนโครงการชุมชนต้นแบบปลอดบุหรี่ตอบสนองนโยบายของกระทรวงสาธารณสุขในการขับเคลื่อนโครงการ 3 ล้าน 3 ปีเลิกบุหรี่ ทั่วไทย เทิดไท้องค์ราชัน”
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
90
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
30
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาขนในชุมชนกลุ่มวันทำงานและกลุ่มเสี่ยง ลด ละ เลิกสูบบุหรี่ ร้อยละ 10 (2) เพื่อเป็นชุมชนต้นแบบปลอดบุหรี่ 1 ตำบล 1 ชุมชน (3) เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการชุมชนต้นแบบในการขับเคลื่อนโครงการชุมชนต้นแบบปลอดบุหรี่ตอบสนองนโยบายของกระทรวงสาธารณสุขในการขับเคลื่อนโครงการ 3 ล้าน 3 ปีเลิกบุหรี่ ทั่วไทย เทิดไท้องค์ราชัน”
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการชุมชนต้นแบบปลอดบุหรี่ (บ้านปูลานิบง) จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 60-L4135-1-6
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวสมคิด สุวรรณสังข์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการชุมชนต้นแบบปลอดบุหรี่ (บ้านปูลานิบง) ”
ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวสมคิด สุวรรณสังข์
กันยายน 2560
ที่อยู่ ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 60-L4135-1-6 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการชุมชนต้นแบบปลอดบุหรี่ (บ้านปูลานิบง) จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบุดี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนต้นแบบปลอดบุหรี่ (บ้านปูลานิบง)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการชุมชนต้นแบบปลอดบุหรี่ (บ้านปูลานิบง) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 60-L4135-1-6 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบุดี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การสูบบุหรี่เป็นสาเหตุของการเจ็บป่วยและเสียชีวิตก่อนเวลาอันควรลำดับที่สองของคนไทย โดยประมาณหนึ่งในหกของชายไทยและหนึ่งในยี่สิบห้าของหญิงไทยที่เสียชีวิตมีสาเหตุมาจากการสูบบุหรี่ ปี 2557 ผลสำรวจพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของประชากรไทย อายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไปโดยสำนักงานสถิติแห่งชาติ พบว่าจำนวนผู้สูบบุหรี่ปัจจุบัน จำนวน 11.4 ล้านคน คิดอัตราการสูบบุหรี่ 20.7%โดยแยกผู้สูบประจำ จำนวน 10.0 ล้านคน สูบเป็นครั้งคราวจำนวน 1.4ล้านคนเคยสูบ แต่เลิกแล้วจำนวน 3.7 ล้านคนอัตราการสูบบุหรี่ปัจจุบันในเยาวชนกลุ่มอายุ 15 - 18 ปี จำนวน 353,898 คน คิดเป็นอัตรา 8.3 %กลุ่มอายุ 19 - 24 ปี จำนวน 1,059,839 คน คิดอัตรา 19.8 % เด็กไทยติดบุหรี่ใหม่เพิ่มปีละ 200,000 คน ติดก่อนอายุ 18 ปี จากสถิติที่ผ่านมาพบว่าร้อยละ 70 ของเยาวชนที่ติดบุหรี่จะติดไปตลอดชีวิต ส่วนร้อยละ 30 จะเลิกได้หลังจากติดบุหรี่ไปแล้วเป็นเวลา 20 ปี (ข้อมูลรวบรวมโดย คร.ศรัณญา เบญจกุล คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล) ชุมชน ถือว่าเป็นศูนย์กลางทางวัฒนธรรมที่ยึดเหนี่ยวทางจิตใจของประชาชน คติความเชื่อ ประเพณีท้องถิ่น เป็นศูนย์รวมให้ชาวบ้านกับชุมชนมีความสัมพันธ์กันอย่างเหนียวแน่น และเป็นสัญลักษณ์ทางกายภาพและจิตวิญญาณที่มีเอกลักษณ์เฉพาะแต่ละท้องถิ่น ชุมชนต้นแบบในสร้างสุขภาพ จึงเป็นรูปแบบหนึ่งโดยใช้คนในชุมชนเป็นศูนย์กลางในการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมให้ กับประชาชน ชุมชน โดยมีคณะกรรมการขับเคลื่อนเพื่อให้ประชาชนในหมู่บ้านมีการส่งเสริมสุขภาพที่ดี มีการจัดสภาพสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพ และเกิดการมีส่วนร่วมของบุคลากรที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง โดยให้ชุมชนเอื้อโอกาสต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในชุมชนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบุดี จึงดำเนินโครงการชุมชนต้นแบบเพื่อขับเคลื่อนให้ “ชุมชนปลอดบุหรี่” เป็นสถานที่พัฒนาทั้งร่างกาย จิตใจ สังคม ประเพณี วัฒนธรรม เพื่อสุขภาพที่ดีของประชาชน ครอบครัว และชุมชนด้วยหลักการส่งเสริมสุขภาพ 5 ร. คือ ร่มรื่นสะอาดปลอดควันบุหรี่ร่มเย็นสงบสดชื่นปลอดโรคร่วมสร้างสุขภาพ 3 อ 2 ส ร่วมจิตวิญญาณสร้างสุขภาพ และร่วมคิดร่วมพัฒนาและตอบสนองนโยบายของกระทรวงสาธารณสุขในการขับเคลื่อนโครงการ 3 ล้าน 3 ปีเลิกบุหรี่ ทั่วไทย เทิดไท้องค์ราชัน”
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ประชาขนในชุมชนกลุ่มวันทำงานและกลุ่มเสี่ยง ลด ละ เลิกสูบบุหรี่ ร้อยละ 10
- เพื่อเป็นชุมชนต้นแบบปลอดบุหรี่ 1 ตำบล 1 ชุมชน
- เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการชุมชนต้นแบบในการขับเคลื่อนโครงการชุมชนต้นแบบปลอดบุหรี่ตอบสนองนโยบายของกระทรวงสาธารณสุขในการขับเคลื่อนโครงการ 3 ล้าน 3 ปีเลิกบุหรี่ ทั่วไทย เทิดไท้องค์ราชัน”
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 30 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 60 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนในชุมชนกลุ่มวัยทำงานและกลุ่มเสี่ยงสามารถเลิกสูบบุหรี่และเป็นต้นแบบ อย่างน้อย1 คน 1 ชุมชน
- บ้านปูลานิบงเป็นชุมชนต้นแบบปลอดบุหรี่ 1 ตำบล 1 ชุมชน
- เกิดพลังการขับเคลื่อนการมีส่วนร่วมของประชาชน และผู้เกี่ยวข้องในการพัฒนาอย่างต่อเนื่องให้สามารถปกป้องเยาวชนจากบุหรี่และยาเสพติดตอบสนอง "โครงการ3 ล้าน 3 ปีเลิกบุหรี่ ทั่วไทย เทิดไท้องค์ราชัน”
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ประชุมชี้แจงโครงการ/แต่งตั้งคณะกรรมการ คณะทำงานขับเคลื่อน จำนวน 3 ครั้ง |
||
วันที่ 25 สิงหาคม 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.มีคณะทำงาน/ทีมงานขับเคลื่อนโครงการชุมชนต้นแบบปลอดบุหรี่ในตำบล 2.สามารถพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการชุมชนต้นแบบในการขับเคลื่อนโครงการชุมชนต้นแบบปลอดบุหรี่ ตอบสนองนโยบายของกระทรวงสาธารณสุขในการขับเคลื่อนโครงการ 3 ล้าน3ปี เลิกบุหรี่ ทั่วไทย เทิดไท้องค์ราชัน” จำนวน 30 คน
|
30 | 30 |
2. การเดินรณรงค์สร้างกระแส ลด ละ เลิกสูบบุหรี่ |
||
วันที่ 15 กันยายน 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.ประชาชนในชุมชนกลุ่มวัยทำงานและกลุ่มเสี่ยงสามารถเลิกสูบบุหรี่และเป็นต้นแบบ อย่างน้อย1 คน1 ชุมชนตอบสนอง "โครงการ3 ล้าน 3 ปีเลิกบุหรี่ ทั่วไทย เทิดไท้องค์ราชัน” 2.เกิดพลังการขับเคลื่อนการมีส่วนร่วมของประชาชนและผู้เกี่ยวข้องในการพัฒนาอย่างต่อเนื่องให้สามารถปกป้องเยาวชนจากบุหรี่และยาเสพติด
|
50 | 50 |
3. อบรมบุคคลต้นแบบและเข้าคลินิคเลิกสูบบุหรี่ |
||
วันที่ 22 กันยายน 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
30 | 30 |
4. ประชุมสรุปผลการดำเนินงานโครงการฯ |
||
วันที่ 25 กันยายน 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นบ้านปูลานิบงเป็นชุมชนต้นแบบปลอดบุหรี่ 1 ตำบล 1 ชุมชน
|
30 | 30 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- ประชาชนในชุมชนกลุ่มวัยทำงานและกลุ่มเสี่ยงบ้านปูลานิบงสามารถลด ละ เลิกสูบบุหรี่ ร้อยละ 10
- บ้านปูลานิบงเป็นชุมชนต้นแบบปลอดบุหรี่ 1 ตำบล 1 ชุมชน
- สามารถพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการชุมชนต้นแบบในการขับเคลื่อนโครงการชุมชนต้นแบบปลอดบุหรี่ ตอบสนองนโยบายของกระทรวงสาธารณสุขในการขับเคลื่อนโครงการ 3 ล้าน3ปี เลิกบุหรี่ ทั่วไทย เทิดไท้องค์ราชัน” จำนวน 30 คน
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ประชาขนในชุมชนกลุ่มวันทำงานและกลุ่มเสี่ยง ลด ละ เลิกสูบบุหรี่ ร้อยละ 10 ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | เพื่อเป็นชุมชนต้นแบบปลอดบุหรี่ 1 ตำบล 1 ชุมชน ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการชุมชนต้นแบบในการขับเคลื่อนโครงการชุมชนต้นแบบปลอดบุหรี่ตอบสนองนโยบายของกระทรวงสาธารณสุขในการขับเคลื่อนโครงการ 3 ล้าน 3 ปีเลิกบุหรี่ ทั่วไทย เทิดไท้องค์ราชัน” ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 90 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 30 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 60 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาขนในชุมชนกลุ่มวันทำงานและกลุ่มเสี่ยง ลด ละ เลิกสูบบุหรี่ ร้อยละ 10 (2) เพื่อเป็นชุมชนต้นแบบปลอดบุหรี่ 1 ตำบล 1 ชุมชน (3) เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการชุมชนต้นแบบในการขับเคลื่อนโครงการชุมชนต้นแบบปลอดบุหรี่ตอบสนองนโยบายของกระทรวงสาธารณสุขในการขับเคลื่อนโครงการ 3 ล้าน 3 ปีเลิกบุหรี่ ทั่วไทย เทิดไท้องค์ราชัน”
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการชุมชนต้นแบบปลอดบุหรี่ (บ้านปูลานิบง) จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 60-L4135-1-6
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวสมคิด สุวรรณสังข์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......