กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบุดี


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยง ลดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ”

พื้นที่ หมู่ที่ 3-4-5-6-7 ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวสมคิด สุวรรณสังค์

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยง ลดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน

ที่อยู่ พื้นที่ หมู่ที่ 3-4-5-6-7 ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 60-L4135-1-7 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยง ลดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน พื้นที่ หมู่ที่ 3-4-5-6-7 ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบุดี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยง ลดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยง ลดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน " ดำเนินการในพื้นที่ พื้นที่ หมู่ที่ 3-4-5-6-7 ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 60-L4135-1-7 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบุดี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันนี้ แม้การแพทย์จะสามารถเอาชนะโรคร้ายต่างๆมากมาย ทำให้ประชากรโลกรอดพ้นจากการเจ็บป่วยเหล่านั้นและมีอายุที่ยืนยาวขึ้น แต่จำนวนคนที่เป็นโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงโรคไขมันในเลือดสูง โรคอ้วน โรคหัวใจและหลอดเลือด ซึ่งเรียกรวมกันว่า เมตะบอลิกซินโดรม (Metabolic Syndrome) กลับมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็ว ต้นเหตุของการเพิ่มขึ้นของจำนวนผู้เป็นโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงในปัจจุบัน คือการเพิ่มขึ้นของจำนวนคนอ้วน เพราะอุปนิสัยการกินอยู่ที่เปลี่ยนไป มีการเคลื่อนไหวร่างกายน้อยลงในการใช้ชีวิตประจำวัน กินอาหารที่มีไขมันเพิ่มขึ้น ซึ่งไขมันที่สะสมอยู่ที่พุงเป็นตัวการสำคัญที่ทำให้ระดับน้ำตาลและระดับไขมันในเลือดเพิ่มสูงขึ้น เป็นตัวนำไปสู่การเกิดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ประเทศไทยก็เป็นหนึ่งในประเทศที่กำลังประสบปัญหาเกี่ยวโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานเช่นเดียวกับอีกหลายประเทศ จากสถิติ พบอัตราป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงต่อแสนประชากร ในปี พ.ศ. 2551 - 2555 สูงขึ้นเป็น 3.90 , 3.62, 3.89, 5.71 และ 5.73 ตามลำดับ และพบอัตราป่วยด้วยโรคเบาหวานต่อแสนประชากร ในปี พ.ศ.2551 - 2555 สูงขึ้นเป็น 12.22, 11.06, 10.76, 11.88 และ 12.06 ตามลำดับ (สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค, 2556) นอกจากนี้ยังพบว่า โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ยังเป็นสาเหตุการตายใน 5 อันดับแรกของคนไทย ซึ่งสาเหตุสำคัญเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของโลก ความเจริญทางเศรษฐกิจและสังคม ประชาชนมีความหนาแน่น มีความเครียดมากขึ้นส่งผลให้ประชาชนมีพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมโดยเฉพาะพฤติกรรมการบริโภคอาหารไม่ถูกสุขลักษณะบริโภคอาหารสำเร็จรูป หรืออาหารจานด่วนซึ่งปริมาณของเกลือหรือธาตุโซเดียม น้ำตาลและไขมันสูง เป็นต้น
ในพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบุดี พบอัตราป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงต่อแสนประชากร ในปี พ.ศ. 2557 – 2559 สูงขึ้นเป็น 20.38,23.91และ21.90 ตามลำดับตามลำดับ และพบอัตราป่วยด้วยโรคเบาหวานต่อแสนประชากร ในปี พ.ศ.2557 - 2559 สูงขึ้นเป็น 7.10,7.40และ 6.17 ตามลำดับจากการคัดกรองความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ปี 2560 พบกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง คิดเป็นร้อยละ 18.89 และกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน คิดเป็นร้อยละ2.03 และผลการวิเคราะห์พฤติกรรมด้วยแบบ"ตนเตือนตน ด้วย 3อ.2ส." พบพฤติกรรมเสี่ยงด้านต่างๆดังนี้ กลุ่มเสียงความดันโลหิตสูง จำนวน 353 คน พฤติกรรมเสี่ยงด้านอาหาร คิดเป็นร้อยละ 76.52 ด้านการออกกำลังกาย คิดเป็นร้อยละ 34.23 ด้านการสูบบุหรี่ 19.26 กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน จำนวน 43 คน พฤติกรรมเสี่ยงด้านอาหาร คิดเป็นร้อยละ 69.32 ด้านการออกกำลังกาย คิดเป็นร้อยละ 46.08 ตามลำดับ นอกจากนี้กลุ่มเสี่ยงมีรอบเอวเกิน คิดเป็นร้อยละ 22.65 เป็นต้น ดังนั้น เพื่อลดอัตราการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบุดี จึงได้จัดทำแผนงาน/โครงการ โดยนำหลักการ 3 อ. 2 ส. ซึ่งประกอบด้วย 3 อ. ได้แก่ ออกกำลังกาย อาหาร อารมณ์ 2 ส. ได้แก่ สูบบุหรี่ สุรา เพื่อให้ได้รับความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องถึงพฤติกรรมของการเกิดโรค และสามารถรับผิดชอบในการจัดการตนเองเพื่อป้องกันการเกิดปัญหาแทรกซ้อนต่างๆ ตลอดจนดำรงรักษาสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดี เพื่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเองได้อย่างยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
  2. 2. เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงลดพฤติกรรมเสี่ยงและสามารถดูแลสุขภาพตนเองขั้นพื้นฐานได้อย่างเหมาะสม
  3. 3. เพื่อร่วมพัฒนาปัจจัยแวดล้อมที่เอื้ออำนวยต่อการลดพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ 100
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ประชากรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
    2. ประชากรกลุ่มเสี่ยงลดพฤติกรรมเสี่ยงและสามารถดูแลสุขภาพตนเองขั้นพื้นฐานได้อย่างเหมาะสม
    3. สามารถพัฒนาปัจจัยแวดล้อมที่เอื้ออำนวยต่อการลดพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. จัดอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการในประชากรกลุ่มเสี่ยง

    วันที่ 17 สิงหาคม 2560 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ประชากรกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมอบรมโครงการฯ จำนวน 100 คน
    • ประชากรกลุ่มเสี่ยงที่เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน ร้อยละ 80
    • ประชากรกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการ สามารถลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน ร้อยละ 50
    • สามารถพัฒนาปัจจัยแวดล้อมที่เอื้ออำนวยต่อการลดพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน

     

    100 100

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    • ประชากรกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมอบรมโครงการฯ จำนวน 100 คน
    • ประชากรกลุ่มเสี่ยงที่เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน ร้อยละ 80
    • ประชากรกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการ สามารถลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน ร้อยละ 50
    • สามารถพัฒนาปัจจัยแวดล้อมที่เอื้ออำนวยต่อการลดพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
    ตัวชี้วัด :

     

    2 2. เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงลดพฤติกรรมเสี่ยงและสามารถดูแลสุขภาพตนเองขั้นพื้นฐานได้อย่างเหมาะสม
    ตัวชี้วัด :

     

    3 3. เพื่อร่วมพัฒนาปัจจัยแวดล้อมที่เอื้ออำนวยต่อการลดพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ 100
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน (2) 2. เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงลดพฤติกรรมเสี่ยงและสามารถดูแลสุขภาพตนเองขั้นพื้นฐานได้อย่างเหมาะสม (3) 3. เพื่อร่วมพัฒนาปัจจัยแวดล้อมที่เอื้ออำนวยต่อการลดพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยง ลดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 60-L4135-1-7

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวสมคิด สุวรรณสังค์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด