กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการสร้างความตระหนักให้กับพ่อต่อวัคซีนลูก ”
ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา



หัวหน้าโครงการ
นายฮิลมีดาโอ๊ะ




ชื่อโครงการ โครงการสร้างความตระหนักให้กับพ่อต่อวัคซีนลูก

ที่อยู่ ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 60-L4150-1-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างความตระหนักให้กับพ่อต่อวัคซีนลูก จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างความตระหนักให้กับพ่อต่อวัคซีนลูก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสร้างความตระหนักให้กับพ่อต่อวัคซีนลูก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 60-L4150-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน ยังไม่ระบุ - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การพัฒนาและยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในประเทศนั้น ต้องมีพื้นฐานสุขภาพที่ดีและห่างไกลโรคภัย งานการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันในเด็ก 0-5 ปี จึงมีความสำคัญอย่างยิ่งในการป้องกันโรควัณโรค คอตีบ ไอกรน บาดทะยัก ไข้สมองอักเสบ หัด หัดเยอรมัน คางทูม และโปลิโอ ซึ่งโรคดังกล่าวนี้ทำให้สุขภาพของคนในประเทศชาตินั้น เจ็บป่วยร่วมกับสูญเสียภาพลักษณ์ และความรุนแรงสูงสุดสามารถทำอันตรายต่อชีวิตได้ ดังนั้นถ้าเด็กได้รับวัคซีน 0-5 ปี ครบตามเกณฑ์ที่กระทรวงกำหนด จะสามารถป้องกันโรคดังกล่าวได้ดี ส่งผลให้คุณภาพชีวิตของบุคคลในชาติมีสุขภาพดีทั้งร่างกายและจิตใจตามนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข คนไทยห่างไกลโรคภัย จากการดำเนินงานส่งเสริมภูมิคุ้มกันโรค ที่ผ่านมาของ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลบ้านลากอ ปี 2559 พบว่ามีเด็กจำนวน 510 คน ไม่รวมเด็กที่เคลื่อนย้ายออกนอกพื้นที่พร้อมกับผู้ปกครอง เกิน 6 เดือน และเด็กนอกพื้นที่ เด็กได้รับวัคซีน ครบชุดตามเกณฑ์ 1 ปี ร้อยละ 96.55 เด็กรับวัคซีนครบชุดตามเกณฑ์ 2 ปี ร้อยละ 89.72 เด็กได้รับวัคซีนครบชุดตามเกณฑ์ 3 ปี ร้อยละ 97.92 และวัคซีนครบชุดตามเกณฑ์ 5 ปี ร้อยละ 93.59 ( ข้อมูลจากการสรุปผลการปฏิบัติงานโภชนาการเด็ก0 – 5ปี ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 58 – 30 กันยายน 59 ) พบว่าเด็กที่ไม่มารับวัคซีนครบตามเกณฑ์ส่วนใหญ่จะมาจากครอบครัวไม่ให้ความสำคัญกับการรับวัคซีนของเด็กโดยเฉพาะพ่อ ส่วนใหญ่ที่พาลูกมาฉีดวัคซีนจะเป็นแม่โดยส่วนใหญ่ และแม่บางคนก็แอบพาลูกมาฉีดวัคซีน เพราะพ่อจะไม่ค่อยให้มาฉีดกลัวจะไม่สบาย กลัวจะทำงานไม่ได้ พ่อห่วงลูกแบบผิด คือ กลัวลูกเจ็บเมื่อมาฉีกวัคซีนโดยไม่กลัวการระบาดของโรคที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต พ่อมีความเข้าใจที่ผิดเกี่ยวกับการรับวัคซีนพ่อขาดความตระหนักเกี่ยวกับการรับวัคซีน ขาดแรงจูงใจในการมารับวัคซีน และไม่มีความรู้เรื่องผลข้างเคียงของวัคซีนที่รับ
ดังนั้น ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลบ้านลากอ จึงได้จัดโครงการสร้างความตระหนักให้กับพ่อต่อวัคซีนลูก โดยเน้นการสร้างความตระหนักให้พ่อเป็นหลัก มีความกระตือรือร้น โดยการกระจายข่าวสาร ประชาสัมพันธ์ ผ่านผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา และแกนนำสุขภาพประจำบ้าน เพื่อให้ทุกส่วนของชุมชนได้รับรู้ ตระหนักถึงความสำคัญ และผลกระทบที่เกิดขึ้นกับเด็กในอนาคต จากการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ย้อนหลัง 3 ปี ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลากอ พบว่า การดำเนินงานไม่ประสบความสำเร็จเท่าที่ควร ดังตารางดังนี้
ปีงบประมาณ กลุ่มอายุที่ได้รับวัคซีนครบชุด ครบ 1 ปี ครบ 2 ปี ครบ 3 ปี ครบ 5 ปี 2557 2558 2559 96.88 % 96.26 % 96.55 % 96.55 % 96.88 % 89.72 % 93.59 % 96.55 % 97.92 % 79.78 % 87.50 % 93.59 %

จากตาราง จะพบว่าการได้รับวัคซีนของกลุ่มอายุต่างๆ ไม่สามารถบรรลุตามเกณฑ์ตัวชี้วัด (ตัวชี้วัดปี 2560 ได้รับวัคซีนครบชุด ไม่ต่ำกว่า 90 %) ซึ่งจะต้องมีการเร่งรัดการรับวัคซีนเพิ่มขึ้น โดยการดำเนินงาน ในเชิงรุก การให้รางวัลเพื่อสร้างแรงจูงใจแก่เด็กและผู้ปกครอง การให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเด็ก โดยเฉพาะพ่อที่ไม่ค่อยสนใจลูก ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา เพื่อปรับพฤติกรรม และมีความตระหนัก และร่วมมีบทบาทในการทำงานเชิงรุก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลากอ อำเภอยะหา จังหวัดยะลา ร่วมกับชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลบ้านลากอ ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา ได้เห็นความสำคัญดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการสร้างความตระหนักให้กับพ่อต่อวัคซีนลูก ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 100
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 100
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.อัตราการรับวัคซีนในเด็ก 0-5 ปีให้ครบตามเกณฑ์ในแต่ละช่วงวัย มากกว่าร้อยละ 90 2.เพื่อให้พ่อเด็กที่มีอายุต่ำกว่า 5 ปี มีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของการรับวัคซีนตรงตามเกณฑ์ในระดับดีได้มากกว่าร้อยละ 70
    3.ไม่มีอัตราป่วยด้วยโรค ที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนของเด็กต่ำกว่า 5 ปี ดังนี้ • ลดอัตราป่วยด้วยโรคหัดไม่เกิน 8 ต่อประชากรแสนคน • อัตราป่วยโรคบาดทะยักในทารกแรกเกิดไม่เกิน 1ต่อ ประชากรเด็กแรกเกิด 1,000คน • อัตราป่วยโรคคอตีบ ไม่เกิน 0.02ต่อประชากร 100,000คน • อัตราป่วยโรคไอกรน ไม่เกิน 0.08ต่อประชากร 100,000คน อัตราป่วยโรคไข้สมองอักเสบเจอี ไม่เกิน 0.25ต่อ ประชากร 100,000คน


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1. ผลการดำเนินงาน กลยุทธ์และขั้นตอนการดำเนินงาน กลยุทธ์ที่ 1    การสร้างแกนนำครอบครัว การรณรงค์ประชาสัมพันธ์ และการจัดนิทรรศการ เพื่อให้ชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงผลกระทบของการไม่ได้รับวัคซีน 1.รณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ เรื่อง การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค และโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน พร้อมทั้งกระตุ้นให้เกิดการปฏิบัติ ผ่านสื่อต่างๆ เช่น ในช่วงก่อนการละหมาดวันศุกร์ หอกระจายเสียง  โรงเรียน เดินรณรงค์ ฯลฯ  และจัดนิทรรศการ เพื่อเสริมสร้างและสนับสนุนการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นอย่างถูกต่อเนื่อง และยั่งยืน 2.อบรมเชิงปฏิบัติการในเรื่อง โรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน และถอดบทเรียนในการดำเนินงานที่ผ่านมา โดยกลุ่มแกนนำต่างๆ, ผู้ปกครองเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปีในทุกหมู่บ้านที่รับวัคซีนครบชุด เพื่อให้สามารถนำความรู้ไปปฏิบัติ และถ่ายทอดให้แก่ผู้อื่นในเขตรับผิดชอบ
      3.จัดหาและทำสื่อประชาสัมพันธ์ต่างๆ เช่น ป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์  แผ่นพับ  ภาพพลิก    และวีดีทัศน์ โดยใช้ทรัพยากรในท้องถิ่นให้มากที่สุด กลยุทธ์ที่ 2    การเยี่ยมบ้าน ติดตามในเชิงรุก
      กิจกรรม    1. ขึ้นทะเบียนเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปีทุกราย ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลากอ
    2. จัดทำแผนการเยี่ยมบ้าน และเยี่ยมติดตามเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปีให้มารับวัคซีน โดย จนท.ร่วมกับ อสม.
    3. อสม./แกนนำ/จนท.  ติดตามเด็กมารับวัคซีนที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลากอ กลยุทธ์ที่ 3    การควบคุมกำกับ และการประเมินผล ปัญหา/อุปสรรค (ระบุ)
      มารดาเมื่อคลอดแล้วบางคนจะย้ายกลับไปอยู่บ้านสามี ทำให้ไม่สามารถติดต่อกับเด็กได้เพราะผู้ปกครองไม่ได้มาแจ้ง รพ.สต. เมื่อย้ายไปที่อื่น แนวทางการแก้ไข (ระบุ) ต้องเพิ่มมาตรการในชุมชน เมื่อมีบุคคลย้ายบ้าน ต้องแจ้ง อสม. หรือ เจ้าหน้าที่ หรือ ผู้ใหญ่บ้านให้รับทราบด้วย


    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 100
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 100
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการสร้างความตระหนักให้กับพ่อต่อวัคซีนลูก จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 60-L4150-1-02

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายฮิลมีดาโอ๊ะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด