กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบตก


“ ฟันสวยยิ้มใส ดูแลสุขภาพช่องปาก ปี 2562 ”

ตำบลมะรือโบตะวันตก อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายนิอาซิ นิจินิการี

ชื่อโครงการ ฟันสวยยิ้มใส ดูแลสุขภาพช่องปาก ปี 2562

ที่อยู่ ตำบลมะรือโบตะวันตก อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L2508-1-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2562 ถึง 15 ธันวาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"ฟันสวยยิ้มใส ดูแลสุขภาพช่องปาก ปี 2562 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมะรือโบตะวันตก อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบตก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ฟันสวยยิ้มใส ดูแลสุขภาพช่องปาก ปี 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " ฟันสวยยิ้มใส ดูแลสุขภาพช่องปาก ปี 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลมะรือโบตะวันตก อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 62-L2508-1-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2562 - 15 ธันวาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,760.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบตก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาทางสุขภาพช่องปากยังเป็นปัญหาที่ต้องได้รับการแก้ไขและเป็นนโยบายของกระทรวงสาธารณสุขมาตลอด การที่จะแก้ไขปัญหาสุขภาพในช่องปากนั้นจะให้บรรลุเป้าหมายระยะยาวได้นั้นจะต้องเริ่มตั้งแต่วัยเด็ก หรือเริ่มตั้งแต่ระยะฟันน้ำนมเริ่มขึ้น ฟันได้รับการดูแลอย่างดี เมื่อถึงวัยผู้ใหญ่จะมีฟันใช้งานได้ครบทั้งปาก ไม่มีโรคในช่องปาก ไม่มีความเจ็บปวดในช่องปาก คงสภาวะเช่นนี้ได้ตลอดชีวิต การส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคในช่องปากเป็นกิจกรรมหนึ่งที่จะทำให้เด็กมีสุขภาพดี การป้องกันโรคฟันผุในเด็กควรเริ่มตั้งแต่แม่ตั้งครรภ์ เพราะฟันน้ำนมของเด็กเริ่มสร้างและมีการสะสมแร่ธาตุเกือบสมบูรณ์ขณะอยู่ในครรภ์ ประกอบกับปัจจุบันมีหลักฐานที่สนับสนุนว่าการเป็นโรคปริทันต์มีผลต่อการเกิดภาวการณ์คลอดก่อนกำหนด และเด็กน้ำหนักแรกเกิดน้อย แม่ที่มีฟันผุจะมีเชื้อจุลินทรีย์ในปากจำนวนมาก ซึ่งเชื้อนี้สามารถถ่ายทอดสู่ลูกได้ทางน้ำลายและจากข้อมูลทางระบาดวิทยาของประเทศไทย พบว่า ช่วงอายุ ๐-๓ ปี เป็นช่วงที่อัตราการเกิดฟันผุใน ฟันน้ำนมของเด็กเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและเป็นช่วงวัยสำคัญที่สุดในการป้องกันฟันผุ เพราะวัยนี้ ถ้าช่องปากไม่สะอาด จะเอื้อต่อการตั้งรกรากของเชื้อจุลินทรีย์ ทำให้เกิดฟันผุอย่างรวดเร็ว การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันฟันผุในเด็กต้องดำเนินการร่วมกันระหว่างทันตบุคลากร และบุคลากรที่ปฏิบัติงานในคลินิกสุขภาพเด็กดี ซึ่งจะเป็นผู้ที่มีโอกาสพบเด็กและพ่อแม่เป็นระยะสม่ำเสมอและเป็นผู้ที่มีความสำคัญอย่างยิ่งในการตรวจคัดกรองเด็กที่มีความเสี่ยงต่อฟันผุ เพื่อส่งต่อไปรับบริการป้องกัน รวมทั้งการให้คำแนะนำพ่อแม่ ผู้เลี้ยงดูเด็กในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กอย่างเหมาะสม เพื่อให้การดำเนินการเป็นไปอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน จำเป็นที่จะต้องส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้ปกครองเข้าใจ และตระหนักเรื่องทันตสุขภาพ ตลอดจนการให้ความสำคัญในการดูแลฟันซี่แรกของลูก เพราะการเริ่มต้นดูแลตั้งแต่เริ่มต้นเป็นสิ่งสำคัญอันจะนำสู่การมีสุขภาวะช่องปากที่ดีในวัยผู้ใหญ่ ต่อไป
    ในพื้นที่เขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสะโล ยังมีปัญหาด้านทันตสุขภาพในโรงเรียนเขตองค์การบริหารส่วนตำบลมะรือโบตก มีฟันแท้ผุ ร้อยละ ๒๘.๗๗ ศูนย์พัฒนาเด็กหรือเด็กอนุบาลที่ต้องรับการแก้ไขในการเคลือบฟลูออวานิช ร้อยละ ๗๔.๒๐ และหญิงมีครรภ์มีปัญหาช่องปาก ร้อยละ ๖๒.๕๑ จากการที่ได้สำรวจได้พบปัญหาดั่งกล่าว จึงได้จัดทำ โครงการฯ นี้ขึ้นมา เป็นการส่งเสริมทันตสุขภาพและทันตกรรมป้องกันในโรงเรียนประถมศึกษา ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก กลุ่มหญิงมีครรภ์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อดำเนินงานส่งเสริม ป้องกัน รักษา สุขภาพช่องปากของเด็กก่อนวัยเรียน วัยเรียน และหญิงมีครรภ์ และมีการปรับวิธีการดำเนินงานให้สอดคล้องกับปัญหาของแต่ละพื้นที่  ซึ่งการดำเนินงานจำเป็นต้องได้รับความร่วมมือจากครู นักเรียน ผู้ปกครองและทันตบุคลาการ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการแปรงฟันที่ถูกวิธี และสม่ำเสมอทั้งที่บ้านและที่โรงเรียนและควบคู่ไปกับการให้บริการทันตกรรมที่ถูกต้องและเหมาะสม โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสะโลได้เห็นความสำคัญและเป็นการส่งเสริมทันตสุขภาพแก่เด็กนักเรียนเพื่อให้มีฟันดีใช้ตลอดไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๕.๑ เพื่อให้นักเรียนเป็นแกนนำสามารถดูแลสุขภาพช่องภาพตนเองและเพื่อนนักเรียนได้
  2. ๕.๒. เพื่อให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังฟันผุในเด็ก
  3. ๕.๓ เพื่อส่งเสริมความรู้หญิงมีครรภ์รู้จักป้องกันฟันผุในตัวเองและสามารถนำไปปฏิบัติในการป้องกันฟันผุในบุตร

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้หญิงตั้งครรภ์ในการดูแลสุขภาพฟัน
  2. กิจกรรมทันตสุขภาพดี พี่สอนน้อง
  3. จัดกิจกรรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการแก่ผู้ปกครองเรื่องทันตสุขภาพในเด็กนักเรียน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. เด็กนักเรียนไม่มีฟันผุส่งผลให้สุขภาพด้านอื่น ๆ ดีตามไปด้วยและได้รับการดูแลตรวจสุขภาพช่องปากตามระบบเฝ้าระวังอย่างต่อเนื่อง
๒. นักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพช่องปากได้รับบริการทันตกรรมอย่างถูกต้องและเปลี่ยนแปลงทัศนคติและมีพฤติกรรมทางทันตสุขภาพดีขึ้น ตลอดจนมีการแปรงฟันทุกคนส่งผลให้ปัญหาเรื่องสุขภาพฟันและช่องปากหมดไป ๓. มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ รูปแบบ และกระบวนการการดำเนินงานกิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพในโรงเรียนประถมศึกษาในรูแบบเครือข่ายและมีการพัฒนารูปแบบกิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพที่มีคุณภาพอย่างยั่งยืน ๔. ผู้ปกครองนักมีความรู้ในการดูแลช่องปากสามารถดูแลตนเองและบุตร จนมีทันตสุขภาพช่องภาพที่ดี


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมทันตสุขภาพดี พี่สอนน้อง

วันที่ 23 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมทันตสุขภาพดี พี่สอนน้อง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนมีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปาก

 

40 0

2. จัดกิจกรรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการแก่ผู้ปกครองเรื่องทันตสุขภาพในเด็กนักเรียน

วันที่ 15 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

จัดกิจกรรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการแก่ผู้ปกครองเรื่องทันตสุขภาพในเด็กนักเรียน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็ก

 

56 0

3. อบรมให้ความรู้หญิงตั้งครรภ์ในการดูแลสุขภาพฟัน

วันที่ 23 มิถุนายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้หญิงตั้งครรภ์ในการดูแลสุขภาพฟัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปาก

 

57 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๕.๑ เพื่อให้นักเรียนเป็นแกนนำสามารถดูแลสุขภาพช่องภาพตนเองและเพื่อนนักเรียนได้
ตัวชี้วัด : - มีการแกนนำนักเรียนในโรงเรียน ร้อยละ ๑๐๐ - ผู้ปกครองเด็กนักเรียนมีความรู้เรื่องทันตสาธารณสุข เพิ่มขึ้นร้อยละ ๘๐ ตัวชี้วัดสำเร็จ
0.00

 

2 ๕.๒. เพื่อให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังฟันผุในเด็ก
ตัวชี้วัด : - เด็กนักเรียนในโรงเรียนประถมศึกษา มีการแปรงฟันกลางวัน ร้อยละ ๑๐๐ - เด็กนักเรียนประถมศึกษาฟันแท้ผุได้รับการแก้ไขร้อยละ ๑๐๐ - เด็กนักเรียนประถมชั้นป.๑ และป.๖ ได้รับเคลือบฟลูออวานิชร้อยละ ๘๐ - เด็กก่อนวัยเรียนเคลือบฟลูออวานิช ร้อยละ ๖๐
0.00

 

3 ๕.๓ เพื่อส่งเสริมความรู้หญิงมีครรภ์รู้จักป้องกันฟันผุในตัวเองและสามารถนำไปปฏิบัติในการป้องกันฟันผุในบุตร
ตัวชี้วัด : ๑. ตัวชี้วัดสำเร็จโครงการ - หญิงตั้งครรภ์มีความรู้เรื่องทันตสาธารณสุข เพิ่มขึ้นร้อยละ ๘๐ ๒. ตัวชี้วัดสำเร็จ - หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจและแก้ไขปัญหาช่องปาก ร้อยละ ๑๐๐
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๕.๑ เพื่อให้นักเรียนเป็นแกนนำสามารถดูแลสุขภาพช่องภาพตนเองและเพื่อนนักเรียนได้ (2) ๕.๒. เพื่อให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังฟันผุในเด็ก (3) ๕.๓ เพื่อส่งเสริมความรู้หญิงมีครรภ์รู้จักป้องกันฟันผุในตัวเองและสามารถนำไปปฏิบัติในการป้องกันฟันผุในบุตร

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้หญิงตั้งครรภ์ในการดูแลสุขภาพฟัน (2) กิจกรรมทันตสุขภาพดี พี่สอนน้อง (3) จัดกิจกรรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการแก่ผู้ปกครองเรื่องทันตสุขภาพในเด็กนักเรียน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ฟันสวยยิ้มใส ดูแลสุขภาพช่องปาก ปี 2562 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L2508-1-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายนิอาซิ นิจินิการี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด