กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบุดี


“ โครงการหนูน้อยสุขภาพดี ยิ้มสดใส เฝ้าระวังป้องกันโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน ตำบลบุดี ”

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวสมคิด สุวรรณสังข์

ชื่อโครงการ โครงการหนูน้อยสุขภาพดี ยิ้มสดใส เฝ้าระวังป้องกันโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน ตำบลบุดี

ที่อยู่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 60-L4135-1-10 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2560 ถึง 31 ธันวาคม 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการหนูน้อยสุขภาพดี ยิ้มสดใส เฝ้าระวังป้องกันโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน ตำบลบุดี จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบุดี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการหนูน้อยสุขภาพดี ยิ้มสดใส เฝ้าระวังป้องกันโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน ตำบลบุดี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการหนูน้อยสุขภาพดี ยิ้มสดใส เฝ้าระวังป้องกันโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน ตำบลบุดี " ดำเนินการในพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 60-L4135-1-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2560 - 31 ธันวาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 106,850.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบุดี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค เป็นงานที่มีความสำคัญในการที่จะช่วยป้องกันการเกิดโรคและส่งเสริมสุขภาพพื้นฐานให้แก่ประชาชน ทำให้มีภูมิคุ้มกันต่อโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน ช่วยลดการสูญเสียทางเศรษฐกิจของประเทศทั้งทางทรัพยากรบุคคลและภาระค่าใช้จ่ายต่างๆในการดูแลรักษาผู้ป่วย ควบคุมการกระจายของโรคโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนอาจเกิดการระบาดได้ถ้าไม่สามารถให้วัคซีนได้ครอบคลุมเพียงพอ หรือให้ไม่ครบตามจำนวนครั้งที่กำหนดภูมิคุ้มกันที่สร้างจากวัคซีนมีระดับลดลง เมื่อเวลาผ่านไปต้องได้รับการกระตุ้นซ้ำและประสิทธิภาพของวัคซีนลดลงได้จากปัจจัยต่างๆเช่น การเก็บรักษาวัคซีนไม่ได้มาตรฐานเทคนิคการให้บริการหรือการฉีดวัคซีนเช่นฉีดลึก หรือตื้นเกินไป เป็นต้น
ใน ปี 2559 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบุดีดำเนินการจัดเก็บข้อมูลการได้รับวัคซีนของเด็ก 0-5 ปีเด็กวัยก่อนเรียน พบว่า มีความครอบคลุมต่ำกว่า ร้อยละ95 ปัญหาที่ผ่านมาพบว่า ผู้ปกครองเด็กไม่ยินยอมให้ลูกฉีดวัคซีน กลุ่มเป้าหมายมีการย้ายที่อยู่อาศัย หรือไปรับบริการจากสถานบริการอื่น ขาดการติดตามต่อเนื่อง อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ผู้นำชุมชน/ผู้นำศาสนา เป็นบุคคลที่อาศัยในพื้นที่ มีความใกล้ชิด และทราบข้อมูลการเข้าถึงรับบริการ รวมถึงการเคลื่อนย้ายที่อยู่อาศัยของกลุ่มเป้าหมายอสม.ผู้นำชุมชน/ผู้นำศาสนาจึงมีส่วนสำคัญในการกระจายความรู้ข้อมูลข่าวสารในชุมชนได้เป็นอย่างดี มาตรการเชิงรุกที่สำคัญ คือ การให้ อสม.ค้นหากลุ่มเป้าหมาย เด็กวัยก่อนเรียน0-5 ปี พร้อมทั้งให้ข้อมูลและคำแนะนำในการรับวัคซีนป้องกันการเกิดโรค อีกทั้งเก็บข้อมูลความครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับวัคซีนจากสถานบริการอื่น เพื่อช่วยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขตรวจสอบความครอบคลุมวัคซีนป้องกันโรค ภารกิจดังกล่าวเป็นการเตรียมความพร้อมเพื่อป้องกันและตอบโต้การระบาดของโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนในพื้นที่จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งในการพัฒนาศักยภาพ อสม.ให้มีความรู้ ทักษะการดำเนินงานช่วยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบุดีเล็งเห็นถึงความสำคัญจึงได้จัดทำโครงการหนูน้อยสุขภาพดี ยิ้มสดใส เฝ้าระวังป้องกันโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนตำบลบุดีปี 2560 ขึ้นเพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ผู้นำชุมชน/ผู้นำศาสนา มีความรู้เรื่องโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนและการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็ก สามารถดำเนินงานร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเฝ้าระวังป้องกันโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนในพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านให้มีความรู้เรื่องวัคซีนการดูแลสุขภาพช่องปาก และทักษะในการเฝ้าระวังป้องกันโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน
  2. เพื่อพัฒนาเครือข่ายการดำเนินงานเฝ้าระวังป้องกันโรคติดต่อในระดับหมู่บ้าน
  3. เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 250
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    • อสม/ผู้นำศาสนาผู้ปกครองเด็ก มีความรู้เรื่องโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนและการดูแลสุขภาพช่องปากอย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ
    • อสม/ผู้นำศาสนาผู้ปกครองเด็ก สามารถดำเนินงานเฝ้าระวังป้องกันโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน ในระดับหมู่บ้านได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    • อสม/ผู้นำศาสนาผู้ปกครองเด็ก มีความตระหนักในการดูแลสุขภาพช่องปากและโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ประชุมเชิงปฏิบัติการแก่อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา ผู้ปกครอง เด็ก หลักสูตร 1 วัน/5 รุ่น

    วันที่ 13 กันยายน 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

                อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านผู้นำชุมชน/ผู้นำศาสนา  ผู้ปกครองเด็ก พื้นที่ หมู่ 3-7 ต.บุดี ผ่านการอบรมให้ความรู้เรื่องการเฝ้าระวังป้องกันโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนและการดูแลสุขภาพช่องปากได้อย่างถูกต้อง ร้อยละ 80

     

    250 250

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ
    1. อสม/ผู้นำศาสนา  ผู้ปกครองเด็ก มีความรู้เรื่องโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนและการดูแลสุขภาพช่องปากอย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ 2. อสม/ผู้นำศาสนา  ผู้ปกครองเด็ก สามารถดำเนินงานเฝ้าระวังป้องกันโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน ในระดับหมู่บ้านได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3.อสม/ผู้นำศาสนา  ผู้ปกครองเด็ก มีความตระหนักในการดูแลสุขภาพช่องปากและโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน

    การติดตามประเมินผล
    อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านผู้นำชุมชน/ผู้นำศาสนา  ผู้ปกครองเด็ก พื้นที่ หมู่ 3-7 ต.บุดี ผ่านการอบรมให้ความรู้เรื่องการเฝ้าระวังป้องกันโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนและการดูแลสุขภาพช่องปากได้อย่างถูกต้อง ร้อยละ 80 ความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนตามเกณฑ์อายุ 1 ปี เด็กทั้งหมด 98 คน รับวัคซีนครบ 89 คน
    คิดเป็น 90.82 ความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนตามเกณฑ์อายุ 2 ปี เด็กทั้งหมด 95 คน รับวัคซีนครบ 87 คน
    คิดเป็น 91.58 ความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนตามเกณฑ์อายุ 3 ปี เด็กทั้งหมด 74 คน รับวัคซีนครบ 61 คน คิดเป็น 82.43 ความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนตามเกณฑ์อายุ 5 ปี เด็กทั้งหมด 109 คน รับวัคซีนครบ89 คน
    คิดเป็น 81.65

    ปัญหา/อุปสรรค
          ผู้เข้าร่วมอบรมบางคนยังมีความเชื่อที่ไม่ถูกต้องในการดูแลเลี้ยงดูบุตรหลาน เนื่องจากห้องประชุมเล็กจำกัดไม่สามารถรองรับกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมอบรมได้หมด และจำกัดในการทำกิจกรรมต้องจัดจำนวนหลายรุ่นได้รับการโอนงบประมาณล่าช้าทำให้ดำเนินโครงการได้ช้าและกระชั้นชิด

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านให้มีความรู้เรื่องวัคซีนการดูแลสุขภาพช่องปาก และทักษะในการเฝ้าระวังป้องกันโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน
    ตัวชี้วัด :

     

    2 เพื่อพัฒนาเครือข่ายการดำเนินงานเฝ้าระวังป้องกันโรคติดต่อในระดับหมู่บ้าน
    ตัวชี้วัด :

     

    3 เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 250
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 250
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านให้มีความรู้เรื่องวัคซีนการดูแลสุขภาพช่องปาก และทักษะในการเฝ้าระวังป้องกันโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน (2) เพื่อพัฒนาเครือข่ายการดำเนินงานเฝ้าระวังป้องกันโรคติดต่อในระดับหมู่บ้าน (3) เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการหนูน้อยสุขภาพดี ยิ้มสดใส เฝ้าระวังป้องกันโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน ตำบลบุดี จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 60-L4135-1-10

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวสมคิด สุวรรณสังข์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด