กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง


“ โครงการรวมพลังสร้างเสริมสุขภาพโดยเครือข่ายสุขภาพภาคประชาชน เทศบาลเมืองพัทลุง ปีงบประมาณ 2562 ”

อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายประสิทธิ์ ชูแป้น

ชื่อโครงการ โครงการรวมพลังสร้างเสริมสุขภาพโดยเครือข่ายสุขภาพภาคประชาชน เทศบาลเมืองพัทลุง ปีงบประมาณ 2562

ที่อยู่ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2562-L7572-02-010 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มกราคม 2562 ถึง 15 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรวมพลังสร้างเสริมสุขภาพโดยเครือข่ายสุขภาพภาคประชาชน เทศบาลเมืองพัทลุง ปีงบประมาณ 2562 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรวมพลังสร้างเสริมสุขภาพโดยเครือข่ายสุขภาพภาคประชาชน เทศบาลเมืองพัทลุง ปีงบประมาณ 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรวมพลังสร้างเสริมสุขภาพโดยเครือข่ายสุขภาพภาคประชาชน เทศบาลเมืองพัทลุง ปีงบประมาณ 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2562-L7572-02-010 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มกราคม 2562 - 15 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 99,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจัยสำคัญในการดำรงชีวิต หลักสำคัญคือสุขภาพ หากบุคคลมีสุขภาพดี จะเป็นพื้นฐานสำคัญต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต และการพัฒนาสุขภาพอนามัย ซึ่งหลักๆของกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ อันเป็นงานสาธารณสุขที่ครอบคลุมหลายมิติ เป็นกระบวนการเพิ่มสมรรถนะให้ประชาชนมีความสามารถในการควบคุมและพัฒนาสุขภาพตนเอง อันจะเป็นผลต่อสุขภาวะที่สมบูรณ์ทางกาย ทางจิต และทางสังคม ต้องยอมรับรับว่าการดำเนินงานด้านสุขภาพในชุมชนเครือข่ายที่สำคัญที่ปฏิบัติงานเคียงคู่กับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขก็คือ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ที่เป็นผู้มีความสำคัญในการดำเนินงานสาธารณสุขมูลฐาน เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมด้านสุขภาพอนามัย เป็นต้นแบบในการสร้างสุขภาพ โดยการสื่อสารสร้างสุขภาพ เฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในชุมชน นำไปสู่การพัฒนาการดูแลสุขภาพของตนเองของประชาชน ครอบครัวและชุมชน การเป็นผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และนำบุคคลในครอบครัวปฏิบัติตาม เป็นบุคคลต้นแบบและเป็นแกนนำในการสร้างสุขภาพคนในครอบครัว และสภาวะแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดี
      ทั้งนี้การสร้างสุขภาพ ถือเป็นกลยุทธ์ทางสุขภาพที่กำลังได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางว่าจะช่วยกระตุ้นและส่งเสริมให้บุคคลเกิดพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพมากยิ่งขึ้น ซึ่งจะส่งผลโดยตรงต่อสุขภาพของบุคคล ช่วยลดอัตราป่วยด้วยโรคต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคอันเกี่ยวเนื่องกับวิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไป เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคเบาหวาน  โรคความดันโลหิตสูง โรคเครียด และโรคมะเร็งสาเหตุที่พบอุบัติการณ์ของโรคเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ แนวโน้มการเจ็บป่วยและปัญหาสุขภาพของประชาชนก็มีความซับซ้อนมากขึ้น ดังนั้นการแก้ไขด้วยวิธีคิด วิธีการ และองค์ความรู้เดิมจึงไม่เพียงพอ ดังนั้นทุกภาคส่วนของสังคมต้องมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบด้วยการสร้างสุขภาพและด้วยภูมิปัญญาของชุมชน  โดยการเน้นให้มีพฤติกรรมการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง บริโภคอาหารที่สุก สะอาดปลอดภัย ไม่ติดยาเสพติด ส่งเสริมให้คนในชุมชนรวมกลุ่มกันจัดกิจกรรมด้านสุขภาพในรูปต่างๆ โดยมีวัตถุประสงค์ให้กลุ่มที่เกิดขึ้น เป็นศูนย์กลางและเป็นกลไกในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้านสุขภาพสู่ประชาชนในชุมชน ส่งเสริมให้ได้มีการออกกำลังกายและมีโภชนาการที่ดี เป็นการลดปัจจัยเสี่ยง ไม่ให้เกิดขึ้นก่อนวัยอันควร มีการดูแลตนเองทั้งทางด้านโภชนาการอาหาร การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ การดูแลสุขภาพจิตและลดพฤติกรรมเสี่ยงต่างๆจะช่วยป้องกันโรคที่กล่าวมาแล้วทั้งหมดได้ด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การบริโภคที่ถูกต้องเลือกกินอาหารให้ครบ 5 หมู่ให้หลากหลายและพอเพียง งดอาหารหวาน มัน เค็ม ดูแลน้ำหนักตัวให้อยู่ในเกณฑ์ที่พอเหมาะ ควบคู่ไปกับการออกกำลังกายสม่ำเสมอ เป็นการลดปัญหาค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพในระยะยาว

        โดยที่ผ่านมาโดยบทบาทข้างต้น อสม.ก็ได้ปฏิบัติงานมาอย่างเข้มแข็งครอบคลุมทั้ง 45 ชุมชนของเขตรับผิดชอบเทศบาลเมืองพัทลุง ทั้งนี้เพื่อเป็นการเผยแพร่ผลงาน และนำสิ่งดีๆด้านสุขภาพของชุมชนมาจัดแสดง เป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การจัดนิทรรศการและเผยแพร่ผ่านสื่อต่าง ๆ จึงจัด “โครงการ รวมพลังสร้างเสริมสุขภาพโดยเครือข่ายสุขาภาพภาคประชาชน เทศบาลเมืองพัทลุง ปีงบประมาณ 2562” เพื่อเป็นการเสริมสร้างสุขภาพและป้องกันการเกิดโรค และส่งเสริมการทำกิจกรรมสุขภาพที่ต่อเนื่องต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. สำรวจข้อมูลกิจกรรมสุขภาพ และข้อมูลสุขภาพของชุมชน
  2. มหกรรมสุขภาพ เครือข่ายสุขภาพภาคประชาชนเทศบาลเมืองพัทลุง
  3. พัฒนาชุมชนต้นแบบด้านสุขภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดทำแนวทางการดำเนินงาน โครงการ
  2. มหกรรมสุขภาพเครือข่ายสุขภาพภาคประชาชนเทศบาลเมืองพัทลุง
  3. พัฒนาชุมชนต้นแบบด้านสุขภาพ
  4. สรุปผลการดำเนินงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 800
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

พัฒนาชุมชนสร้างสุขภาพ เพื่อมุ่งสู่การดำเนินงานตำบลคุณภาพชีวิต โดยประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมอย่างจริงจังในการพัฒนาสุขภาพและคุณภาพชีวิต ประชาชนเป็นเจ้าของสุขภาพและสามารถเข้าถึงบริการของภาครัฐด้านการดูแลระบบสุขภาพอย่างยั่งยืน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. มหกรรมสุขภาพเครือข่ายสุขภาพภาคประชาชนเทศบาลเมืองพัทลุง

วันที่ 30 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

มหกรรมสุขภาพเครือข่ายสุขภาพภาคประชาชนเทศบาลเมืองพัทลุง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มหกรรมสุขภาพเครือข่ายสุขภาพภาคประชาชนเทศบาลเมืองพัทลุง

 

500 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 สำรวจข้อมูลกิจกรรมสุขภาพ และข้อมูลสุขภาพของชุมชน
ตัวชี้วัด : - อสม.มีข้อมูลสุขภาพของชุมชนที่รับผิดชอบที่เป็นปัจจุบัน - มีชุมชน แหล่งเรียนรู้ด้านสุขภาพของชุมชน
0.00

 

2 มหกรรมสุขภาพ เครือข่ายสุขภาพภาคประชาชนเทศบาลเมืองพัทลุง
ตัวชี้วัด : -มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และเผยแพร่กิจกรรมสุขภาพ ผ่านช่องทางสื่อซุ่มสาธิตกิจกรรม 1) ซุ้มแสดงผลการดำเนินงานสุขภาพของอาสาสมัครสาธารณสุข 2) ซุ้มการดูแลและรักษาสิ่งแวดล้อม 3) ซุ้มอาหารเพื่อสุขภาพ และอาหารปลอดภัย 4) ซุ้มในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 5) ซุ้มกิจกรรมบำบัดฟื้นฟูสุขภาพ 6) ซุ้มรณรงค์ปลอดบุหรี่ 7) ซุ้มตรวจดัชนีมวลกาย, มวลกระดูก - มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 800 คน - มีคณะกรรมการประกวดคัดเลือก กิจกรรมสาธิตการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ในงานมหกรรมสุขภาพเพื่อกำหนดเกณฑ์การ และการประกวด มาจากทุกภาคส่วน ประกอบด้วย - ภาครัฐ จากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด สำนักงานสาธารณสุขสุขอำเภอเมือง โรงพยาบาลพัทลุง และศูนย์แพทย์ชุมชน - ภาคท้องถิ่น จากเทศบาลเมืองพัทลุง สำนักงานท้องถิ่นจังหวัด - ภาคประชาชน ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขอำเภอเมืองพัทลุง - อื่นๆ เช่นกรรมการโรงเรียนผู้สูงอายุ
0.00

 

3 พัฒนาชุมชนต้นแบบด้านสุขภาพ
ตัวชี้วัด : - มีชุมชนต้นแบบด้านการดูแลสุขภาพ
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 800 584
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 800 584
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) สำรวจข้อมูลกิจกรรมสุขภาพ และข้อมูลสุขภาพของชุมชน (2) มหกรรมสุขภาพ    เครือข่ายสุขภาพภาคประชาชนเทศบาลเมืองพัทลุง (3) พัฒนาชุมชนต้นแบบด้านสุขภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดทำแนวทางการดำเนินงาน โครงการ (2) มหกรรมสุขภาพเครือข่ายสุขภาพภาคประชาชนเทศบาลเมืองพัทลุง (3) พัฒนาชุมชนต้นแบบด้านสุขภาพ (4) สรุปผลการดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรวมพลังสร้างเสริมสุขภาพโดยเครือข่ายสุขภาพภาคประชาชน เทศบาลเมืองพัทลุง ปีงบประมาณ 2562 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2562-L7572-02-010

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายประสิทธิ์ ชูแป้น )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด