กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง


“ โครงการ อสม. น้อย ”

ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวสุนิสา ยี่สุนทรง

ชื่อโครงการ โครงการ อสม. น้อย

ที่อยู่ ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 62-L4131-1-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2562 ถึง 31 สิงหาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ อสม. น้อย จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ อสม. น้อย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ อสม. น้อย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 62-L4131-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2562 - 31 สิงหาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,050.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรงเรียนเป็นสถาบันหนึ่งที่มีหน้าที่พัฒนาเด็กวัยเรียนให้มีศักยภาพ เติบโตเป็นผู้ใหญ่ ที่สามารถดำรงชีวิตในสังคมได้อย่างปกติสุข โรงเรียนจึงเป็นจุดเริ่มต้นของการปลูกฝังความรู้เจตคติและ พฤติกรรมทุกๆ ด้านแก่เด็กวัยเรียน รวมทั้งพฤติกรรมสุขภาพ แต่เนื่องจากโรงเรียนมีเด็กในชุมชนที่มาจากครอบครัวที่ต่างกัน จึงเป็นปัจจัยสำคัญต่อการเกิดปัญหาโรคภัยไข้เจ็บ ทั้งโรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อที่มีสาเหตุจากพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อม อีกทั้งเมื่อมีนักเรียนคนใดคนหนึ่งเจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อ เมื่อมาโรงเรียนก็มีโอกาสจะแพร่เชื้อโรคไปสู่นักเรียนคนอื่นๆ ได้ง่าย จากการเล่น หรือทำกิจกรรมร่วมกัน เมื่อเด็กป่วยเหล่านี้กลับไปบ้านย่อมมีโอกาสแพร่กระจายเชื้อโรคสู่บุคคลในครอบครัว และชุมชน โรงเรียนจึงเป็นสถานที่ที่สำคัญมากแห่งหนึ่งต่อการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค งานส่งเสริมสุขภาพ การเฝ้าระวังและการป้องกันโรค จึงเป็นปัญหาด้านสาธารณสุขที่ต้องได้รับความร่วมมือในทุกภาคส่วน และต้องมีภาคีเครือข่ายด้านสุขภาพในการทำงานร่วมกัน เพื่อให้โรงเรียนเป็นสถานที่ที่มีสุขอนามัยที่ดี สามารถศึกษาเล่าเรียนได้เต็มศักยภาพ เกิดการเรียนรู้ด้านสุขภาพ ที่ถูกต้องและมีสุขนิสัยที่ดีติดตัวไปจนถึงวัยผู้ใหญ่ ปลูกฝังเจตคติ เสริมสร้างทักษะที่ก่อให้เกิดพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง รวมทั้งจัดการ ควบคุมปรับปรุงแก้ไขสภาพแวดล้อมของโรงเรียนไม่ให้เกิดภาวะเสี่ยงหรือเป็นอันตรายต่อสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลอัยเยอร์เวง เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการ “อสม.น้อย” ในโรงเรียนขึ้น เพื่อช่วยกันดูแลสุขภาพของเด็กในโรงเรียน และคนในชุมชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่ออบรมให้ความรู้ ให้กับนักเรียนกลุ่ม อสม.น้อยในโรงเรียน
  2. เพื่อสนับสนุนกิจกรรมด้านสุขภาพ การป้องกันโรค และอาหารปลอดภัยในโรงเรียน
  3. เพื่อสร้างเครือข่ายกลุ่ม อสม.น้อย และสร้างความเป็นจิตอาสาให้กับนักเรียนในโรงเรียน ในการทำงานด้านสุขภาพร่วมกับหน่วยงานในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การอบรมให้ความรู้ อสม.น้อย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 140
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. อสม.น้อยมีความรู้ และทักษะด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม สามารถปฏิบัติงานสาธารณสุขภายในโรงเรียน และสามารถร่วมกิจกรรมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ในงานด้านสุขภาพ และการจัดการสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนได้     2. นักเรียนและอาจารย์มีความรู้และทักษะในเรื่อง การปฐมพยาบาลเบื้องต้น,การป้องกันและควบคุมโรค,อาหารปลอดภัยและโภชนาการ รวมทั้งการจัดการสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน     3. โรงเรียนบ้านอัยเยอร์เวง เป็นต้นแบบการดำเนินงานสาธารณสุขและการจัดการสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนโดย อสม.น้อย

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. การอบรมให้ความรู้ อสม.น้อย

วันที่ 8 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

  • ประสานงาน
  • เตรียมวัสดุอุปกรณ์ สถานที่
  • สรุปผลกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • นักเรียนเข้าร่วมอบรมจำนวน 140 คน
  • เกิดเป็นเครือข่ายอสม.น้อยจำนวน 140 คน

 

140 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่ออบรมให้ความรู้ ให้กับนักเรียนกลุ่ม อสม.น้อยในโรงเรียน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้เข้ารับการอบรมที่มีความรู้ และทักษะด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
80.00 80.00

 

2 เพื่อสนับสนุนกิจกรรมด้านสุขภาพ การป้องกันโรค และอาหารปลอดภัยในโรงเรียน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของ อสม.น้อยที่สามารถร่วมกิจกรรมการปฐมพยาบาลเบื้องต้น, อาหารปลอดภัยและโภชนาการ และการจัดการสิ่งแวดล้อมเพื่อการป้องกันและควบคุมโรคในโรงเรียนได้
100.00 100.00

 

3 เพื่อสร้างเครือข่ายกลุ่ม อสม.น้อย และสร้างความเป็นจิตอาสาให้กับนักเรียนในโรงเรียน ในการทำงานด้านสุขภาพร่วมกับหน่วยงานในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้เข้ารับการอบรมที่เป็นเครือข่าย อสม.น้อยในโรงเรียน
100.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 140 140
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 140 140
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่ออบรมให้ความรู้ ให้กับนักเรียนกลุ่ม อสม.น้อยในโรงเรียน (2) เพื่อสนับสนุนกิจกรรมด้านสุขภาพ การป้องกันโรค และอาหารปลอดภัยในโรงเรียน (3) เพื่อสร้างเครือข่ายกลุ่ม อสม.น้อย และสร้างความเป็นจิตอาสาให้กับนักเรียนในโรงเรียน ในการทำงานด้านสุขภาพร่วมกับหน่วยงานในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การอบรมให้ความรู้ อสม.น้อย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ อสม. น้อย จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 62-L4131-1-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวสุนิสา ยี่สุนทรง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด