กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการศึกษาผลของการใช้ SKT เพื่อลดระดับน้ำตาลในเลือดและลดระดับความดันโลหิต ในกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง เขตเทศบาลตำบลย่านตาขาว อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง ๒๕๖๒

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลย่านตาขาว


“ โครงการศึกษาผลของการใช้ SKT เพื่อลดระดับน้ำตาลในเลือดและลดระดับความดันโลหิต ในกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง เขตเทศบาลตำบลย่านตาขาว อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง ๒๕๖๒ ”

ตำบลย่านตาขาว อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายกานต์ อัจนารมย์วาท

ชื่อโครงการ โครงการศึกษาผลของการใช้ SKT เพื่อลดระดับน้ำตาลในเลือดและลดระดับความดันโลหิต ในกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง เขตเทศบาลตำบลย่านตาขาว อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง ๒๕๖๒

ที่อยู่ ตำบลย่านตาขาว อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 62-L8291-1-07 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2562 ถึง 30 เมษายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการศึกษาผลของการใช้ SKT เพื่อลดระดับน้ำตาลในเลือดและลดระดับความดันโลหิต ในกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง เขตเทศบาลตำบลย่านตาขาว อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง ๒๕๖๒ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลย่านตาขาว อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลย่านตาขาว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการศึกษาผลของการใช้ SKT เพื่อลดระดับน้ำตาลในเลือดและลดระดับความดันโลหิต ในกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง เขตเทศบาลตำบลย่านตาขาว อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง ๒๕๖๒



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการศึกษาผลของการใช้ SKT เพื่อลดระดับน้ำตาลในเลือดและลดระดับความดันโลหิต ในกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง เขตเทศบาลตำบลย่านตาขาว อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง ๒๕๖๒ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลย่านตาขาว อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 62-L8291-1-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2562 - 30 เมษายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,890.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลย่านตาขาว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

“การมีสุขภาพที่ดีทั้งร่างกายและจิตใจ มีชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างเป็นสุขนั้นเป็นความต้องการ
และความจำเป็นพื้นฐานของชีวิตมนุษย์ทุกคนแสวงหาได้อย่างชอบธรรม สุขภาพอยู่ในตัวของคุณอยู่ในครอบครัว อยู่ในโรงเรียน สถานที่ทำงาน ในชุมชน นั่นคือ อยู่ในชีวิต” (ประเวศ วะสี, 2543) จากคำกล่าวนี้สะท้อนให้เห็นว่าสุขภาพที่ดีนั้นเป็นที่ปรารถนาของทุกคนในสังคม เป็นสิ่งที่แสวงหาและสร้างมันขึ้นมาได้ด้วยตนเอง แต่ทว่าการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมรอบตัวส่งเสริมให้เกิดโรคและภัยสุขภาพให้แนวโน้มของอัตราการเกิดเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่กระบวนการเกิดโรคนั้นไม่ได้ขึ้นอยู่กับ    การแพร่กระจายของเชื้อโรค แค่มีปัจจัยที่เพียงพอ (Sufficient agent) ก็สามารถทำให้เกิดโรคได้ ปัจจัยดังกล่าว เช่น ขาดการออกกำลังกาย การรับประทานอาหารหวานมันเค็มจัด ภาวะอ้วน เป็นต้น
จากข้อมูลขององค์การอนามัยโลก พบว่าสาเหตุการเสียชีวิตของประชากรโลกทั้งหมดมีถึงร้อยละ 63 ที่เกิดจากกลุ่มโรค NCDs และมากกว่าร้อยละ 80 เป็นประชากรของประเทศที่กำลังพัฒนา
สำหรับประเทศไทยพบว่ามีถึง 14 ล้านคน ที่เป็นกลุ่มโรค NCDs และเป็นสาเหตุหลักการเสียชีวิต ของประชากรทั้งประเทศ โดยมีประชากรเสียชีวิตจากกลุ่มโรค NCDs มากกว่า 300,000 คน หรือ คิดเป็นร้อยละ 73 ของการเสียชีวิต จากสถิติการเสียชีวิตดังกล่าวแสดงว่าประเทศไทยมีผู้เสียชีวิตมากกว่าค่าเฉลี่ยของทั้งโลกและมีแนวโน้มจะสูงขึ้นเรื่อย ๆ ในอนาคตซึ่งโรคในกลุ่มโรค NCDs ที่มีอัตราผู้ป่วยและผู้เสียชีวิตสูง ได้แก่ โรคหลอดเลือดสมองและหัวใจ ความดันโลหิตสูง รวมทั้งในปัจจุบันประเทศไทยมีภาระจากกลุ่มโรค NCDs ในสัดส่วนที่สูงกว่านานาชาติ แสดงให้เห็นว่าประเทศไทยมีสถิติการเสียชีวิตและผลกระทบจาก กลุ่มโรค NCDs มากกว่าทั้งโลก (กรมสนับสนุนบริการสุขภาพกระทรวงสาธารณสุข, 2555)
จากสถิติข้อมูลสาธารณสุขจังหวัดตรัง พบว่ามีผู้ป่วยความดันโลหิตสูงในปี พ.ศ.2561 เป็นจำนวนทั้งหมด 3,093 ราย คิดเป็นร้อยละ 29.26 และผู้ป่วยเบาหวาน 1,184 ราย คิดเป็นร้อยละ 25.42 รวมทั้งพบพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม เช่น เรื่องการออกกำลังกาย การรับประทานอาหาร เป็นต้น
การเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วยแนวทาง 3อ 2ส ให้ห่างไกลโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง เป็นแนวคิดในการปรับเปลี่ยนสุขภาพที่นำลงสู่ชุมชน โดยจำนวนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานของโรงพยาบาลย่านตาขาว พบว่ามีจำนวนเพิ่มขึ้นปี      2560 จำนวน 1,110 และ 467 ราย ตามลำดับ ปี 2561 จำนวน 1,182 และ 479 ราย ตามลำดับ จากการพูดคุยกับเจ้าหน้าที่ พบว่าจำนวนผู้ป่วยเพิ่มขึ้นและมีความจำเป็นที่จะต้องปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วยแนวทาง 3อ 2ส
ดังนั้น กลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวม จึงเล็งเห็นความสำคัญของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง เพื่อศึกษาผลของ SKT ในการลดระดับน้ำตาลในเลือด ระดับความดันโลหิต และเพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เกี่ยวกับสาเหตุ อาการภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง สามารถวิเคราะห์และแปรผลข้อมูลสุขภาพของตนเองได้อย่างถูกต้อง รวมทั้งมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมลดโอกาสเกิดโรคโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. - เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการตรวจ คัดกรองโรคโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิต
  2. - เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องสาเหตุ อาการ และภาวะแทรกซ้อนโรคเบาหวานและโรค ความดันโลหิตสูง
  3. - เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถวิเคราะห์ และแปรผลข้อมูลสุขภาพของตนเองได้อย่างถูกต้อง
  4. - เพื่อศึกษาผลของการทำสมาธิบำบัด SKT ต่อระดับน้ำตาลในเลือด และระดับความดันโลหิต
  5. - เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมลดโอกาสเกิดโรคเรื้อรัง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ตรวจคัดกรอง ประเมินภาวะสุขภาพ และการค้นหาผู้มีภาวะเสี่ยง/รณรงค์/ ประชาสัมพันธ์ /ฝึกอบรม /ให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 20
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 20
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  • ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถประเมินและแปรผลสภาวะสุขภาพได้ด้วยตนเอง และเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพอย่างเหมาะสม เพื่อป้องกันการเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังโดยการใช้เครื่องมือโปสเตอร์ดูแลสุขภาพ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ตรวจคัดกรอง ประเมินภาวะสุขภาพ และการค้นหาผู้มีภาวะเสี่ยง/รณรงค์/ ประชาสัมพันธ์ /ฝึกอบรม /ให้ความรู้

วันที่ 30 เมษายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

  • ลงทะเบียนการเข้าร่วมโครงการ
    • ตรวจวัดความดันโลหิต ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด (DTX) และให้บริการวัดส่วนสูง ชั่งน้ำหนัก ประเมินค่า BMI และวัดรอบเอว
    • ประเมินความรู้เรื่องโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และโรคอ้วน ด้วยแบบสอบถามประเมินความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ     กิจกรรมที่ 1 ให้ความรู้เรื่องโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง
                1) บรรยายให้ความรู้เรื่องสาเหตุ อาการ ภาวะแทรกซ้อน โรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง พร้อมสื่อประกอบการบรรยาย ได้แก่ Power point โดยวิทยากร
                2) ประเมินผลกิจกรรม โดยให้ผู้เข้าร่วมโครงการประเมินระดับความดันโลหิต และระดับน้ำตาลในเลือดของตนเอง และจำแนกตามปิงปองจราจร 7 สี
          กิจกรรมที่ 2 อบรมการใช้เครื่องมือโปสเตอร์ดูแลสุขภาพ           1) อบรมวิธีการใช้เครื่องมือโปสเตอร์ดูแลสุขภาพ พร้อมทั้งวิธีการแปลผล ซึ่งประกอบด้วย              2 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป และส่วนที่ 2 การประเมินสุขภาพเบื้องต้น ได้แก่ ค่าระดับน้ำตาลในเลือด, ค่าระดับความดันโลหิต และดัชนีมวลกาย
      กิจกรรมที่ 3 บุคคลต้นแบบ สู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
          1) รับฟังการถ่ายทอดประสบการณ์จากบุคคลต้นแบบและร่วมแลกเปลี่ยนเคล็ดลับที่ทำให้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมประสบความสำเร็จ กิจกรรมที่ 4 ประโยชน์คูณสองด้วย SKT (อ.อารมณ์+อ.ออกกำลังกาย)
              1) ให้ความรู้เรื่องสมาธิบำบัดด้วย SKT         2) สาธิตวิธีการทำสมาธิแบบ SKT ท่าที่ ๑ และ ๒

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการคัดกรองโรค ผู้เข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 40 คน ชาย 4 คน หญิง 36 คน กลุ่มเป้าหมายส่วนใหญ่ มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงอยู่ในระดับความเสี่ยงปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 87.5 ระดับความเสี่ยงสูง คิดเป็นร้อยละ 7.5 และระดับความเสี่ยงต่ำ คิดเป็นร้อยละ 5.0 สำหรับคะแนนเฉลี่ยของความรู้เรื่องโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง คะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมสุขภาพต่อการเกิดโรคเรื้อรัง ก่อนและหลัง มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.5 ระดับน้ำตาลในเลือดก่อนและหลังการปฏิบัติสมาธิบำบัด SKT พบว่าผู้เข้าร่วมโครงการส่วนใหญ่มีระดับน้ำตาลในเลือดอยู่ในระดับสูง คิดเป็นร้อยละ 90.0 ระดับปกติ คิดเป็นร้อยละ 10.0 และค่าเฉลี่ยของระดับน้ำตาลในเลือด เท่ากับ 153.35 mg./dL และหลังจากการเข้าร่วมโครงการมีระดับน้ำตาลในเลือดส่วนใหญ่ อยู่ในระดับปกติ คิดเป็นร้อยละ 80.0 ระดับสูง คิดเป็นร้อยละ 20.0 และค่าเฉลี่ยของระดับน้ำตาลในเลือดมีค่าลดลง เท่ากับ 131.92 mg./dL ระดับความดันโลหิตตัวบน ของผู้เข้าร่วมโครงการส่วนใหญ่ อยู่ในระดับค่อนข้างสูง คิดเป็นร้อยละ 87.5 และมีค่าเฉลี่ยของระดับความดันโลหิตตัวบน เท่ากับ 131.15 mmHg. หลังจากเข้าร่วมโครงการระดับความดันโลหิตตัวบนส่วนใหญ่อยู่ในระดับปกติ คิดเป็นร้อยละ 57.5 และมีค่าเฉลี่ยของระดับความดันโลหิตตัวบน เท่ากับ 120.35 mmHg. ส่วนความดันโลหิตตัวล่าง ส่วนใหญ่อยู่ในระดับปกติ คิดเป็นร้อยละ 37.5 และมีค่าเฉลี่ยของระดับความดันโลหิตตัวล่าง เท่ากับ 80.23 mmHg. หลังจากเข้าร่วมโครงการระดับความดันโลหิตตัวล่างส่วนใหญ่อยู่ในระดับปกติ คิดเป็นร้อยละ 70.0 และมีค่าเฉลี่ยของระดับความดันโลหิตตัวล่าง เท่ากับ 35.43 mmHg.

 

40 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 - เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการตรวจ คัดกรองโรคโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิต
ตัวชี้วัด : - ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการตรวจคัดกรอง โรคเรื้อรัง ร้อยละ 80
0.00

 

2 - เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องสาเหตุ อาการ และภาวะแทรกซ้อนโรคเบาหวานและโรค ความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : - ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคอ้วน และสามารถจำแนกระดับความรุนแรงได้ ร้อยละ 80
0.00

 

3 - เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถวิเคราะห์ และแปรผลข้อมูลสุขภาพของตนเองได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : - ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถประเมิน และแปรผลสภาวะสุขภาพได้ ร้อยละ 80
0.00

 

4 - เพื่อศึกษาผลของการทำสมาธิบำบัด SKT ต่อระดับน้ำตาลในเลือด และระดับความดันโลหิต
ตัวชี้วัด : - ผู้เข้าร่วมโครงการมีค่า BMI วัดรอบเอว ระดับความดันโลหิต และค่าระดับน้ำตาลในกระแสเลือดลดลง ร้อยละ 80
0.00

 

5 - เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมลดโอกาสเกิดโรคเรื้อรัง
ตัวชี้วัด : - ผู้เข้าร่วมกิจกรรม เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ร้อยละ 80
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 20
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 20
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) - เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการตรวจ คัดกรองโรคโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิต (2) - เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องสาเหตุ อาการ และภาวะแทรกซ้อนโรคเบาหวานและโรค  ความดันโลหิตสูง (3) - เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถวิเคราะห์ และแปรผลข้อมูลสุขภาพของตนเองได้อย่างถูกต้อง (4) - เพื่อศึกษาผลของการทำสมาธิบำบัด SKT ต่อระดับน้ำตาลในเลือด และระดับความดันโลหิต (5) - เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมลดโอกาสเกิดโรคเรื้อรัง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ตรวจคัดกรอง ประเมินภาวะสุขภาพ และการค้นหาผู้มีภาวะเสี่ยง/รณรงค์/ ประชาสัมพันธ์ /ฝึกอบรม /ให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการศึกษาผลของการใช้ SKT เพื่อลดระดับน้ำตาลในเลือดและลดระดับความดันโลหิต ในกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง เขตเทศบาลตำบลย่านตาขาว อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง ๒๕๖๒ จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 62-L8291-1-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายกานต์ อัจนารมย์วาท )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด