กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

สภาพปัจจุบันพบว่าผู้สูงอายุ ส่วนใหญ่มีปัญหาสุขภาพจากการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังและมีความรุนแรงของโรคมากกว่ากลุ่มวัยอื่น อันเป็นผลสืบเนื่องมาจากความเสื่อมสภาพด้านร่างกายของผู้สูงอายุ พฤติกรรมสุขภาพและการดูแลควบคุม โรคเรื้อรังที่ไม่เหมาะสมในอดีต โดยพบว่าปัญหาสุขภาพที่เกิดจากการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังที่มักพบใน ผู้สูงอายุ ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดในสมองตีบ ตามลำดับ มักจะพบปัญหาจากการใช้ยา ไม่เหมาะสมในผู้ป่วยสูงอายุ เนื่องจากผู้ป่วยกลุ่มนี้มักเป็นโรคเรื้อรัง ส่วนใหญ่จึงมีการใช้ยาหลายชนิด พร้อมๆกัน และเป็นการใช้อย่างต่อเนื่อง การใช้ยาพร้อมๆ กันหลายชนิด ยังอาจเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดผลไม่พึงประสงค์จากยา อันตรกิริยาระหว่างยา จากสถานการณ์ดังกล่าวย่อม ส่งผลให้อัตราการรับบริการผู้ป่วยสูงอายุจากปัญหาการใช้ยาไม่เหมาะสมมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น       พฤติกรรมการใช้ยาของผู้ป่วยสูงอายุโรคเรื้อรังในชุมชนเชียงทอง อ.เมือง จ.ตาก ด้านความสม่ำเสมอใน การใช้ยา การปฏิบัติเมื่อเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากยา การปฏิบัติเมื่อพบยาเสื่อมสภาพ การปฏิบัติเมื่อพบยาหมดอายุ การเก็บรักษายา การบริหารยา การปฏิบัติเมื่อไม่ทราบวิธีใช้ ยา และการตรวจสอบวิธีใช้ยาก่อนใช้ มีระดับพฤติกรรมเหมาะสมร้อยละ 100, 90.5, 80.5, 77.0, 70.1, 64.4, 59.6 และร้อยละ 52.9 ตามลำดับ ส่วนการตรวจสอบวันหมดอายุมีระดับ พฤติกรรมไม่เหมาะสมร้อยละ 69.0
      การให้บริการผู้ป่วยโรคเรื้อรังใน รพ.เขาชัยสน มักพบปัญหาในการใช้ยาในกลุ่มผู้สูงอายุ ร้อยละ 21.2 ด้วยปัจจัยและสาเหตุหลายอย่าง เช่น การบริหารยาที่ไม่ถูกต้องด้วยสาเหตุอ่านหนังสือไม่ออก มองไม่เห็น ไม่มีผู้ดูแล การกินยาไม่สัมพันธ์กับมื้ออาหาร การจัดเก็บยาไม่เหมาะสม ไม่มีความรู้เรื่องยาเสื่อมสภาพ ยาหมดอายุ ดังนั้นการใช้ยาอย่างปลอดภัย ในเขต อบต.เขาชัยสนเป็นรูปแบบหนึ่งของความร่วมมือระหว่าง รพ.เขาชัยสน รพสต.ในพื้นที่ อสม.และชุมชน เพื่อค้นหาและแก้ปัญหาการใช้ยาในผู้สูงอายุเป็นรายบุคคล เป็นกลวิธีที่ส่งเสริมให้เกิดการใช้ยาอย่างปลอดภัยในชุมชน และส่งผลให้ลดปัญหาทั้งในส่วนของสังคมและเศรษฐกิจด้านสุขภาพในพื้นที่ได้ต่อไป

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่เป็นผู้สูงอายุ ใช้ยาได้ถูกต้องปลอดภัยเพิ่มขึ้น (2) เพื่อให้ อสม.มีความรู้ในการใช้ยาได้ถูกต้องเพิ่มขึ้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1 อบรม อสม 60 คน เจ้าหน้าที่ รพสต.และ รพ.รวม 70 คน ประเมินความรู้ก่อนหลัง การอบรม 2 เก็บข้อมูลการใช้ยาในครัวเรือนของผู้ป่วยกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 150 คน โดย จนท รพสต. จำนวน 2 ครั้งก่อนและหลังการลงเยี่ยมของ อสม. 3. อสม.ลงติดตามการใช้ยาหลังได้รับความรู้จำนวน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ