กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลย่านตาขาว


“ โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง ในเขตเทศบาลตำบลย่านตาขาว ”

ตำบลย่านตาขาว อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายเผดื่อง รักษศรี ประธานศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการในชุมชน เครือข่ายโรงพยาบาลย่านตาขาว

ชื่อโครงการ โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง ในเขตเทศบาลตำบลย่านตาขาว

ที่อยู่ ตำบลย่านตาขาว อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 62-L8291-3-11 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง ในเขตเทศบาลตำบลย่านตาขาว จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลย่านตาขาว อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลย่านตาขาว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง ในเขตเทศบาลตำบลย่านตาขาว



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง ในเขตเทศบาลตำบลย่านตาขาว " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลย่านตาขาว อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 62-L8291-3-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 355,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลย่านตาขาว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประเทศไทยเข้าสู่ “สังคมสูงอายุ” (Aged Society) ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548 กล่าวคือ มีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปไม่ต่ำกว่าร้อยละ 10 ของประชากรทั้งประเทศ และเพิ่มเป็นร้อยละ 15 ของประชากรทั้งประเทศ เมื่อสิ้นปี พ.ศ. 2558ที่ผ่านมา คาดว่าประเทศไทยจะมีประชากรสูงอายุสูงถึงร้อยละ 20 ใน พ.ศ.2564 กลายเป็น “สังคมสูงอายุอย่างสมบูรณ์” (complete aged society) จาการสำรวจของกรมอนามัย (2556) พบว่าผู้สูงอายุร้อยละ 95 เจ็บป่วยด้วยโรคใดโรคหนึ่ง ส่วนใหญ่เป็นโรคเรื้อรังซึ่งจะนำไปสู่ภาวะทุพพลภาพและพึ่งพิง และมีผู้ป่วยนอนติดเตียง ร้อยละ 1นอกจากนั้น ยังพบว่าผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงระดับสูงแต่ต้องดูแลตนเองหรือไม่มีคนดูแลถึงร้อยละ 13 รัฐบาลจึงให้ความสำคัญในการดำเนินการเพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุ ซึ่งกลุ่มที่ต้องให้ความสำคัญอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ก็คือ กลุ่มผู้ป่วยติดเตียง เนื่องจากหากไม่ได้รับการดูแลอย่างถูกต้องและเหมาะสมแล้ว จะก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆตามมามากมาย ไม่ว่าจะเป็นทางสภาพร่างกายหรือจิตใจของทั้งผู้ป่วยและผู้ดูแล ซึ่งนอกเหนือจากการให้ความรู้ ให้กำลังใจและการเยี่ยมติดตามแล้ว เพื่อให้การดูแลมีประสิทธิภาพมากขึ้น ยังต้องให้การสนับสนุนด้านครุภัณฑ์ทางการแพทย์ที่จำเป็น เนื่องจากครุภัณฑ์ดังกล่าวมีราคาค่อนข้างสูง บางครอบครัวจึงไม่สามารถที่จะจัดซื้อได้ด้วยตนเองการมีแหล่งสนับสนุนครุภัณฑ์เหล่านี้ จึงเป็นอีกหนึ่งภารกิจสำคัญในการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยติดเตียงให้ดีขึ้นกว่าเดิม
เทศบาลตำบลย่านตาขาว มีประชากรทั้งหมด 7,907 คน (ข้อมูลเดือนมิถุนายน 2561) พบว่ามีผู้สูงอายุจำนวน 1,629 คน คิดเป็นร้อยละ 20.6 ของจำนวนประชากร และจากการตรวจประเมินความสามารถในการดำเนินชีวิตประจำวัน ตามดัชนีบาร์เธลเอดีแอล พบผู้สูงอายุที่มีคะแนนเอดีแอลเท่ากับหรือน้อยกว่า 11 คะแนน
(ผู้ป่วยติดเตียง) จำนวน 20 คน ซึ่งในจำนวนนี้ 9 คน มีปัญหาทางด้านเศรษฐกิจ ไม่สามารถจัดซื้อวัสดุครุภัณฑ์ ทางการแพทย์ที่มีราคาสูง อาทิเช่น เตียงปรับระดับ ที่นอนลม รถเข็นได้ จึงจำเป็นต้องขอความอนุเคราะห์จากหน่วยงานของรัฐ ซึ่งปรากฏว่ามีไม่เพียงพอกับความต้องการของผู้ป่วย ทำให้ผู้ป่วยบางรายไม่ได้รับความอนุเคราะห์ครุภัณฑ์ดังกล่าว อีกทั้งจากการสำรวจยังพบอีกว่ามีผู้สูงอายุที่มีคะแนนเอดีแอลเท่ากับหรือน้อยกว่า 5-11 คะแนน ซึ่งมีแนวโน้มที่จะกลายเป็นผู้ป่วยติดเตียงในอนาคต และแน่นอนว่า ผู้ป่วยเหล่านี้ก็จำเป็นที่จะต้องได้รับความช่วยเหลือจากหน่วยงานของรัฐไม่ต่างกัน ด้วยเหตุดังกล่าวทางโรงพยาบาลย่านตาขาว จึงได้เห็นความสำคัญที่จะช่วยทำให้เกิด สุขภาวะและสภาพแวดล้อมการเป็นอยู่ที่ดีขึ้นของผู้ป่วยกลุ่มนี้ จึงได้จัดทำโครงการยกระดับคุณภาพชีวิตผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงในเขตเทศบาลตำบลย่านตาขาวขึ้น เพื่อเป็นอีกหนึ่งแรงผลักดันสำคัญที่จะช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. - เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ให้มีชีวิตที่ดีขึ้น
  2. - เพื่อแบ่งเบาภาระทางด้านเศรษฐกิจของผู้ดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การเยี่ยมติดตามดูแลสุขภาพ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 9
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  • ผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
  • ภาวะแทรกซ้อนจากการนอนติดเตียงเป็นเวลานาน เช่น แผลกดทับ ข้อติดแข็ง การติดเชื้อในระบบต่างๆของร่างกาย ตลอดจนภาวะขาดออกซิเจนจากการอุดตันของเสมหะในระบบทางเดินหายใจ ที่อาจเกิดได้ในผู้ป่วย ติดเตียงลดน้อยลง
  • ผู้ดูแลมีกำลังใจในการดูแลผู้ป่วยมากขึ้น และความเครียดที่เกิดจากการต้องรับภาระค่าใช้จ่ายในการดูแลผู้ป่วยลดน้อยลง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. การเยี่ยมติดตามดูแลสุขภาพ

วันที่ 3 ตุลาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

จัดซื้อครุภัณฑ์ทางการแพทย์ ตามแผนที่ได้วางไว้ พร้อมทั้งนำไปช่วยเหลือผู้ป่วย ในเขตเทศบาลย่านตาขาว ที่ติดบ้านติดเตียง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง ที่มีชีวิตอยู่ในเขตเทศบาลตำบลย่านตาขาว ได้รับครุภัณฑ์ทางการแพทย์ที่จำเป็น ร้อยละ 100

 

9 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 - เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ให้มีชีวิตที่ดีขึ้น
ตัวชี้วัด : - ร้อยละ 80 ของผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง มีภาวะแทรกซ้อนลดลง คุณภาพชีวิตดีขึ้น
0.00

 

2 - เพื่อแบ่งเบาภาระทางด้านเศรษฐกิจของผู้ดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 9
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 9
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) - เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ให้มีชีวิตที่ดีขึ้น (2) - เพื่อแบ่งเบาภาระทางด้านเศรษฐกิจของผู้ดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การเยี่ยมติดตามดูแลสุขภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง ในเขตเทศบาลตำบลย่านตาขาว จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 62-L8291-3-11

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายเผดื่อง รักษศรี ประธานศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการในชุมชน เครือข่ายโรงพยาบาลย่านตาขาว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด