กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งใหญ่


“ โครงการสุขภาพดีวิถีไทย ลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ประจำปี 2560 ”

ตำบลทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางญาณิศาน้อยสร้าง

ชื่อโครงการ โครงการสุขภาพดีวิถีไทย ลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ประจำปี 2560

ที่อยู่ ตำบลทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-L8405-1-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 31 มีนาคม 2560 ถึง 30 มิถุนายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสุขภาพดีวิถีไทย ลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ประจำปี 2560 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสุขภาพดีวิถีไทย ลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ประจำปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสุขภาพดีวิถีไทย ลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ประจำปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L8405-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 31 มีนาคม 2560 - 30 มิถุนายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 45,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันทั่วโลกกำลังให้ความสนใจและใช้ความพยายามในการลดภาวะความรุนแรง ของโรคโดยมุ่งไปที่การป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยง ได้แก่ ลดการสูบบุหรี่การดื่มสุรา การจัดการด้านอารมณ์ ส่งเสริมด้านพฤติกรรมสุขภาพด้านอาหารและโภชนาการ (Diet)ลดอาหารหวานมัน เค็ม เพิ่มผักผลไม้การเคลื่อนไหวร่างกายหรือการใช้แรงกาย (Physical Activity)ควบคุมป้องกันไม่ให้เกิดภาวะโภชนาการเกิน หรือ โรคอ้วน โดยเฉพาะอ้วนลงพุง เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงตลอดจนการสร้างสิ่งแวดล้อม และกำหนดมาตรการทางสังคมเพื่อให้เป็นปัจจัยเอื้อต่อการควบคุมโรควิถีชีวิตภาวะน้ำหนักเกินอ้วนและอ้วนลงพุง มีสาเหตุจากปัจจัยเสี่ยงหลายปัจจัยที่เกิดจากพฤติกรรมวิถีชีวิต สิ่งแวดล้อมและพันธุกรร ซึ่งจากสถานการณ์ในปัจจุบันพบว่าปัญหาส่วนใหญ่เกิดจากความสัมพันธ์ระหว่างอาหารที่รับประทานและการออกกำลังกายพบว่าคนไทยกินผักและผลไม้ต่ำกว่ามาตรฐาน คือ 500 กรัม/คน/วันส่วนการกินน้ำตาลและไขมันมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆขณะที่การเคลื่อนไหวหรือออกกำลังกายในกลุ่มอายุ 15ปีขึ้นไปลดลง ปัจจุบันพบภาวะอ้วนและลงพุงมากขึ้นเรื่อยๆประมาณว่าประชากรในประเทศไทยที่มีอายุมากกว่า 35 ปีมีเส้นรอบพุงเกินเกณฑ์ที่กำหนดโดยพบว่าผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย และพบว่าผู้อาศัยอยู่ในเมืองมากกว่าชนบท
การดำเนินงานเฝ้าระวัง และติดตามพฤติกรรมสุขภาพโดยการคัดกรองความเสี่ยงของโรคอ้วนลงพุง (Metabolic syndrome)และโรคไม่ติดต่อเรื้อรังการสร้างความตระหนักถึงภัยร้ายของโรคพร้อมกับมาตรการการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เพื่อลดความเสี่ยงและลดการเกิดโรค ควรได้รับการสนับสนุน และเร่งรัดการดำเนินงานในทุกระดับ ตลอดจนสร้างความมุ่งมั่นร่วมกันของบุคลากรทุกระดับ การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ท้องถิ่น ภาครัฐ และภาคเอกชนต่างๆ โดยเน้นให้ชุมชนสามารถจัดการลดเสี่ยงลดโรคไม่ติดต่อได้ด้วยตนเอง มาตรการเหล่านี้จะส่งผลให้การลดอัตราการเกิดโรคลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนของโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในระยะยาว

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเสริมสร้างศักยภาพชุมชน รวมทั้งองค์กรภาคีเครือข่ายอื่น ๆในชุมชนให้สามารถจัดการปัจจัยเสี่ยงเพื่อป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
  2. เพื่อให้มีการเฝ้าระวังติดตามพฤติกรรมสุขภาพและให้บริการเสริมทักษะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 4,697
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการและดูแลสุขภาพตนเองรวมทั้งมีส่วนร่วมในการจัดการสิ่งแวดล้อมในชุมชนเพื่อลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ตลอดจนชุมชนมีศักยภาพเข้มแข็งในการดำเนินงานลดและควบคุมปัจจัยเสี่ยงเพื่อป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่เหมาะสมกับบริบทของชุมชน


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1.1 จัดกิจกรรมรณรงค์คัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงกลุ่ม อายุ 35 ปีขึ้นไปดังนี้       - คัดกรองโรคเบาหวาน จำนวน 2,291 คน คิดเป็นร้อยละ 89.74 (เป้าหมาย  2,553 คน)       - คัดกรองโรคความดันโลหิตสูง จำนวน  1,894 คน คิดเป็นร้อยละ 90.41 (เป้าหมาย 2,003 คน)       - คัดกรองมะเร็งปากมดลูก  จำนวน 224 คน คิดเป็นร้อยละ 17.45 (เป้าหมาย 257 คน)       - คัดกรองมะเร็งเต้านม  จำนวน  1,209 คน คิดเป็นร้อยละ  81.80  (เป้าหมาย 1,478 คน) 1.2 อบรม/ให้ความรู้แกนนำ อสม จำนวน 1 ครั้ง  99  คน 1.3 จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้  ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงพร้อมให้ความรู้ จำนวน 2 ครั้ง

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อเสริมสร้างศักยภาพชุมชน รวมทั้งองค์กรภาคีเครือข่ายอื่น ๆในชุมชนให้สามารถจัดการปัจจัยเสี่ยงเพื่อป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
    ตัวชี้วัด : การรณรงค์คัดกรองโรค

     

    2 เพื่อให้มีการเฝ้าระวังติดตามพฤติกรรมสุขภาพและให้บริการเสริมทักษะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
    ตัวชี้วัด : กิจกรรมรณรงค์ตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน

     

    3
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 4697
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 4,697
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเสริมสร้างศักยภาพชุมชน รวมทั้งองค์กรภาคีเครือข่ายอื่น ๆในชุมชนให้สามารถจัดการปัจจัยเสี่ยงเพื่อป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (2) เพื่อให้มีการเฝ้าระวังติดตามพฤติกรรมสุขภาพและให้บริการเสริมทักษะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (3)

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการสุขภาพดีวิถีไทย ลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ประจำปี 2560 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 60-L8405-1-01

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางญาณิศาน้อยสร้าง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด