กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งใหญ่


“ โครงการโรงเรียนพ่อแม่ ”

ตำบลทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางญาณิศา น้อยสร้าง

ชื่อโครงการ โครงการโรงเรียนพ่อแม่

ที่อยู่ ตำบลทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-L8405-02-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2560 ถึง 31 สิงหาคม 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการโรงเรียนพ่อแม่ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการโรงเรียนพ่อแม่



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการโรงเรียนพ่อแม่ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L8405-02-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2560 - 31 สิงหาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การพัฒนามนุษย์อย่างมีประสิทธิภาพจำเป็นต้องเริ่มตั้งแต่ปฏิสนธิ โดยเฉพาะในช่วงปฐมวัยซึ่งเป็นรากฐานของการพัฒนาทั้งปวง ซึ่งเป็นการพัฒนาคุณภาพมนุษย์ที่ยั่งยืนและป้องกันปัญหาสังคมในระยะยาว โดยเน้นให้ครอบครัวเป็นแกนหลักในการพัฒนาเด็กให้ชุมชนและสังคมเป็นฐานที่มีส่วนร่วมอย่างแท้จริงในการพัฒนาเด็กทุกขั้นตอน จากแนวคิดเชิงทฤษฎีและผลการวิจัยด้านพัฒนาการเด็กได้แสดงว่า ปัจจัยแวดล้อมและการเลี้ยงดูที่เหมาะสมสามารถปรับเปลี่ยนลักษณะการพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของสมองมนุษย์ได้เป็นช่วงเวลาที่สำคัญและจำเป็นที่สุดในการพัฒนาสมององค์ความรู้และแนวคิดสมัยใหม่เรื่องการพัฒนาสมอง ในทศวรรษที่ผ่านมามีการใช้ศาสตร์ต่างๆไปวิเคราะห์สมองถ่ายภาพสมองเพื่อศึกษาพัฒนาการแต่ละขั้น ความรู้ใหม่พบว่า โอกาสแห่งการเรียนรู้และอัตราการเรียนรู้สูงสุดอยู่ในช่วงวัยเด็กการเติบโตและพัฒนาการของสมองเป็นรากฐานของการเรียนรู้ และเริ่มตั้งแต่ทารกอยู่ในครรภ์ในช่วงอายุ 3 - 6เดือน ในครรภ์มีการสร้างเซลล์สมองสูงสุดการเติบโตของสมองสูงสุดในช่วงอายุ0 – 6 ปี เป็นการเติบโตทางปริมาณทำให้สมองเด็กมีขนาด 90 – 95 % สมองไม่ได้หยุดโตเมื่ออายุ 6 ปี แต่สมองเติบโตจนถึงอายุ 20 -25 ปี การศึกษาเรื่องการเรียนรู้ของสมอง เช่นการทำงานของสมองซีกซ้ายและขวาไม่แยกส่วนกัน แต่จะทำงานในลักษณะร่วมกันทั้งสมองซีกซ้าย และซีกขวา จากความรู้นี้นำไปสู่การออกแบบการเรียนรู้สมัยใหม่ให้เข้ากับพัฒนาการของสมอง ซึ่งจำเป็นอย่างยิ่งที่บุคลากรด้านปฐมวัยต้องมีความรู้ ความเข้าใจในการจัดกิจกรรมที่สอดคล้องกับพัฒนาการทางสมองของเด็ก ในปัจจุบันเป็นที่น่าวิตกและถือเป็นวิกฤตของเด็กปฐมวัยเนื่องจากข้อเท็จจริงจากการประเมินสถานการณ์ และทดสอบพัฒนาการการคัดกรองในเด็กปฐมวัย ( อายุ 0- 5 ปี )พบว่าโดยภาพรวมเด็กปฐมวัยมีแนวโน้มพัฒนาการล่าช้าในด้านร่างกายอารมณ์จิตใจสังคม สติปัญญา และจริยธรรม เมื่อพิจารณาจากประเด็นปัญหาต่าง ๆ แล้วสรุปได้ดังนี้ 1.เด็กอายุ 3-5 ปี ที่ได้รับบริการจากสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยในรูปโรงเรียนอนุบาล ยังด้อยคุณภาพในเรื่องการจัดการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย ได้แก่ การเร่งสอนอ่าน เขียน คิดเลข เพื่อให้สามารถสอบเข้าชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ไม่ให้อิสระแก่เด็กในการแสดงออก ห้ามเด็กพูด การบังคับให้นั่งเงียบ ๆ ให้ทำการบ้านทุกวัน รวมทั้งขาดความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 2.เด็กอายุ 3 – 5 ปี ที่ได้รับบริการจากสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยในรูปแบบศูนย์เด็กเล็ก พบว่ายังขาดคุณภาพในเรื่องวิธีการเรียนรู้ของเด็ก จิตวิทยา และพัฒนาการเด็ก เช่น ให้เด็กเรียนโดยท่องจำอย่างเดียว ไม่ส่งเสริมให้เด็กใช้ความคิดตั้งแต่เล็กๆการให้เด็กนั่งอยู่กับที่ทั้งวัน การเร่งสอนอ่านเขียนคิดเลข การเรียนการสอนดำเนินการ โดยขาดความเข้าใจในขั้นพื้นฐานการเรียนรู้ของเด็ก
1.การส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (0-5 ปี ) ซึ่งมีมาตรการสนับสนุน อาทิ สนับสนุนโครงการต่างๆ ที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัย เด็กปฐมวัยต้องได้รับการประเมิน
พัฒนาการเพื่อค้นหาและเฝ้าระวัง 2.การส่งเสริมพ่อแม่และผู้ทำการพัฒนาเด็กปฐมวัย ซึ่งมีมาตรการ อาทิ จัดบริการเสริมความรู้ความเข้าใจให้ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย 3.การส่งเสริมสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนาเด็กปฐมวัย จากสภาพปัญหาและความจำเป็นดังกล่าว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งใหญ่ จึงกำหนดให้มีโครงการอบรม พัฒนา พ่อ แม่ ผู้ปกครอง เด็กปฐมวัย ก้าวสู่โรงเรียนพ่อแม่ปี2560ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มารดาและทารกหลังคลอดได้รับการดูแลสุขภาพ
  2. เพื่อให้บิดา มารดา อสม. มีความรู้ในการดูแลหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
  3. เพื่อให้บิดา มารดา อสม. ตระหนักในการส่งเสริมการเลี้ยงดูลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว6เดือน
  4. เพื่อให้ มารดาและบิดา อสม. มีความรู้ในการดูแลเด็ก0-5 ปี ให้มีการพัฒนาการที่สมวัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 30
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. เกิดรูปแบบในการดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดและเด็กในชุมขน
    2. ผลการดำเนินกิจกรรมของหน่วยงานอนามัยแม่และเด็กส่งผลให้หญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด ทารกหลังคลอด และเด็กในชุมชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1.จัดกิจกรรมอบรม ให้ความรู้เรื่องโรงเรียนพ่อแม่ และเน้นการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ แก่หญิงตั้งครรภ์ สามี และ อสม. จำนวน 1 ครั้ง  40  คน 2.เยี่ยมบ้านก่อนคลอด จำนวน  90 ครั้ง 18 คน คนละ 5 ครั้ง 3.เยี่ยมบ้านหลังคลอด จำนวน 54 ครั้ง 18 คน คนละ 3 ครั้ง  

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มารดาและทารกหลังคลอดได้รับการดูแลสุขภาพ
    ตัวชี้วัด : กิจกรรมอบรม

     

    2 เพื่อให้บิดา มารดา อสม. มีความรู้ในการดูแลหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    ตัวชี้วัด : กิจกรรมอบรม

     

    3 เพื่อให้บิดา มารดา อสม. ตระหนักในการส่งเสริมการเลี้ยงดูลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว6เดือน
    ตัวชี้วัด : กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียรู้ ทุก 3 เดือน

     

    4 เพื่อให้ มารดาและบิดา อสม. มีความรู้ในการดูแลเด็ก0-5 ปี ให้มีการพัฒนาการที่สมวัย
    ตัวชี้วัด : กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทุก3 เดือน

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 30
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มารดาและทารกหลังคลอดได้รับการดูแลสุขภาพ (2) เพื่อให้บิดา มารดา อสม. มีความรู้ในการดูแลหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด (3) เพื่อให้บิดา มารดา อสม. ตระหนักในการส่งเสริมการเลี้ยงดูลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว6เดือน (4) เพื่อให้ มารดาและบิดา อสม. มีความรู้ในการดูแลเด็ก0-5 ปี ให้มีการพัฒนาการที่สมวัย

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการโรงเรียนพ่อแม่ จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 60-L8405-02-02

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางญาณิศา น้อยสร้าง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด