กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งกระบือ


“ โครงการพลังสตรีส่งเสริมสุขภาพชุมชน (จัดการขยะ) ”

ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
กลุ่มสตรีอาสาพัฒนาเทศบาลตำบลทุ่งกระบือ

ชื่อโครงการ โครงการพลังสตรีส่งเสริมสุขภาพชุมชน (จัดการขยะ)

ที่อยู่ ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 62-L1504-2-12 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 พฤษภาคม 2562 ถึง 30 สิงหาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพลังสตรีส่งเสริมสุขภาพชุมชน (จัดการขยะ) จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งกระบือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพลังสตรีส่งเสริมสุขภาพชุมชน (จัดการขยะ)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพลังสตรีส่งเสริมสุขภาพชุมชน (จัดการขยะ) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 62-L1504-2-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 พฤษภาคม 2562 - 30 สิงหาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 52,418.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งกระบือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันในเขตพื้นที่เทศบาลตำบลทุ่งกระบือมีปริมาณขยะสูงถึงเดือนละ 5-6 ตัน และมีแนวโน้มที่สูงขึ้นทุกปี แม้ก่อนหน้านี้จะพยายามจัดเก็บให้แล้วเสร็จบนถนนสายหลักและสายรองทุกวัน แต่ก็ยังพบปัญหาขยะที่ตกค้าง บริเวณบ้านและถนนหนทางจำนวนมาก สร้างปัญหาทัศนียภาพในชุมชนและปัญหาโรคภัยไข้เจ็บที่เกิดจากขยะเหล่านี้ เช่น เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของแมลง และพาหะของโรค ก่อให้เกิดความรำคาญ ก่อให้เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม ทำให้เกิดการเสี่ยงต่อสุขภาพ เนื่องจากเชื้อจุลินทรีย์ปนเปื้อนมากับขยะมูลฝอยมีโอกาสที่จะขยายพันธุ์เพิ่มจำนวนมากยิ่งขึ้นได้ เกิดการเน่าเปื่อยกลายเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของแมลงวัน เป็นที่อยู่อาศัยของหนู ดังนั้นขยะที่ขาดการเก็บรวบรวมและการกำจัด จึงทำให้เกิดเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ที่สำคัญของเชื้อโรค แมลงวัน หนู แมลงสาบ ซึ่งเป็นพาหะนำโรคมาสู่คนได้เป็นบ่อเกิดของเชื้อโรคต่างๆ เช่น ตับอักเสบ เชื้อไทฟอยด์ ท้องร่วง ฯลฯ กลิ่นรบกวน ฝุ่นละอองที่เกิดจากการเก็บรวบรวมการขนถ่าย และการกำจัดขยะก็ยังคงเป็นเหตุรำคาญ ขยะยังเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดมลพิษของน้ำ มลพิษของดิน และมลพิษของอากาศ กลุ่มสตรีอาสาพัฒนาเทศบาลตำบลทุ่งกระบือ จึงจัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อให้แกนนำกลุ่มสตรีได้มีบทบาทในการแก้ปัญหาของสุขภาพที่เกิดจากขยะในชุมชนมากขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของกลุ่มสตรีและครอบครัวในการขับเคลื่อนแก้ไขปัญหาขยะในชุมชน เพื่อลดปัญหาด้านสุขภาพที่เกิดจากขยะ
  2. เพื่อให้กลุ่มสตรีและครอบครัวรู้จักวิธีการจัดการขยะแต่ละประเภทอย่างถูกวิธีลดปัญหาขยะ
  3. เพื่อรณรงค์ให้ประชาชนในพื้นที่ตระหนักถึงปัญหาสุขภาพหรือโรคที่เกิดจากขยะ
  4. เพื่อส่งเสริมให้สตรีคัดแยกขยะและนำกลับมาใช้ใหม่อย่างมีประสิทธิภาพ
  5. เพื่อป้องกันโรคที่เกิดจากปัญหาการจัดการขยะ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้เรื่องการจัดการขยะ
  2. กิจกรรมรณรงค์การจัดการขยะ
  3. กิจกรรมจัดการขยะชุมชนต้นแบบ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 120
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มสตรีและครอบครัวมีส่วนร่วมแก้ไขปัญหาขยะในชุมชนลดปัญหาด้านสุขภาพที่เกิดจากขยะ   2. กลุ่มสตรีและครอบครัวรู้จักวิธีการจัดการขยะแต่ละประเภทอย่างถูกวิธี   3. ประชาชนในพื้นที่ตระหนักถึงปัญหาสุขภาพหรือโรคที่เกิดจากขยะ   4. ขยะจากครัวเรือนถูกจัดการอย่างถูกสุขลักษณะลดโรคที่เกิดจากขยะ เช่น โรคอุจจาระร่วง   5. โรคที่เกิดจากปัญหาขยะในชุมชนลดลง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของกลุ่มสตรีและครอบครัวในการขับเคลื่อนแก้ไขปัญหาขยะในชุมชน เพื่อลดปัญหาด้านสุขภาพที่เกิดจากขยะ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อให้กลุ่มสตรีและครอบครัวรู้จักวิธีการจัดการขยะแต่ละประเภทอย่างถูกวิธีลดปัญหาขยะ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อรณรงค์ให้ประชาชนในพื้นที่ตระหนักถึงปัญหาสุขภาพหรือโรคที่เกิดจากขยะ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 เพื่อส่งเสริมให้สตรีคัดแยกขยะและนำกลับมาใช้ใหม่อย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

5 เพื่อป้องกันโรคที่เกิดจากปัญหาการจัดการขยะ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 120
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของกลุ่มสตรีและครอบครัวในการขับเคลื่อนแก้ไขปัญหาขยะในชุมชน เพื่อลดปัญหาด้านสุขภาพที่เกิดจากขยะ (2) เพื่อให้กลุ่มสตรีและครอบครัวรู้จักวิธีการจัดการขยะแต่ละประเภทอย่างถูกวิธีลดปัญหาขยะ (3) เพื่อรณรงค์ให้ประชาชนในพื้นที่ตระหนักถึงปัญหาสุขภาพหรือโรคที่เกิดจากขยะ (4) เพื่อส่งเสริมให้สตรีคัดแยกขยะและนำกลับมาใช้ใหม่อย่างมีประสิทธิภาพ (5) เพื่อป้องกันโรคที่เกิดจากปัญหาการจัดการขยะ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เรื่องการจัดการขยะ (2) กิจกรรมรณรงค์การจัดการขยะ (3) กิจกรรมจัดการขยะชุมชนต้นแบบ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพลังสตรีส่งเสริมสุขภาพชุมชน (จัดการขยะ) จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 62-L1504-2-12

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( กลุ่มสตรีอาสาพัฒนาเทศบาลตำบลทุ่งกระบือ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด