กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู


“ โครงการสุขภาพดีที่ห้วยมะพร้าว ”

ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายปรีชา หมีนคลาน

ชื่อโครงการ โครงการสุขภาพดีที่ห้วยมะพร้าว

ที่อยู่ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-L5313-2-06 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสุขภาพดีที่ห้วยมะพร้าว จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสุขภาพดีที่ห้วยมะพร้าว



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสุขภาพดีที่ห้วยมะพร้าว " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 62-L5313-2-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 57,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลเดช รัชกาลที่ ๘ พุทธศักราช ๒๕๒๒ พระราชดำรัชว่า เด็กเป็นผุ้ที่รับช่วงทุกสิ่งทุกอย่างจากผู้ใหญ่รวมทั้งภาระความรับผิดชอบในการธำรงรักษา ความสุขสงบของประชากรโลก จากพระราชดำรัสจะเห็นได้ว่า เด็กและเยาวชนเป็นบุคคลที่สำคัญในการพัฒนาประเทศต่อจากผู้ใหญ่ ในฐานะครู ผุ้ปกครองเด็กเป็นบคุคลที่มีความสำคัญในการปลูกฝังเตรียมความพร้อมให้เด็กทั่งทางด้านร่างกาย สังคม อารมณ์ และสติปัญญา เด็กและเยาวชนควรได้รับการส่งเสริมการดูแลสุขภาพของตนเอง การดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน การเสริมสร้างสุขภาพ การออกกำลังกาย การดูแลให้ปลอดภัยในชีวิตและทัรพย์สินของตนเองและส่วนร่วม ตลอดจนเป็นบคุคลที่สามรถเป็นตัวอย่างมีภาวะการเป็นผู้นำในเรื่องการปฎิบัติตามสุขลัญญัตติที่ดีได้ เด้กต้องได้รับการส่งเสริมการดำเนินชีวิตและการมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมและถูกต้อง ในปัจจุบันจะเห็นได้ว่ากระแสการเปลี่ยนแปลงของโลกรวมทั้งการเปลี่ยนแปลงทางด้านการเมมือง เศรษฐกิจ สังคม การสือสารและการคมนาคมตลอดจนการใช้เทคโนโบยีในการพัฒนา ซึงทำให้วิถีการดำเนินชีวิตของเราเปลี่ยนไปเนื่องจากสภาพแวดล้อมที่ไม่สมดุล การขาดความสนใจและละเลยต่อการดูแลสุขภาพ เช่อน การดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน บริโภคออาหารที่ไท่เหมาะสม ่ขาดการออกกำลังกาย ดังนั้นการการส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดการดูแลสุขภาพ โดยให้ประชาชนสมามรถสร้างเสริมสุขภาพที่ดีด้วยตนเอง เป็นเพราะสุขภาพเป็นสิ่งสำคัญสำหรับมนุษย์ทุกคนเริ่มตั้งแต่เกิดจนถึงตายการมีสุขภาพที่ดีย่อมก่อให้เกิดความพร้อมในการปฏิบัติงานอย่างเต็มความสามารถ มีประสิทธิภาพและคุณภาพงานเต็มที่ และการมีสุขภาพดีเป็นเครื่องบ่งชี้ถึงการมีคุณภาพชีวิตที่ดีด้วย ประกอบกับสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติมีความมุ่งมั้นในการพัฒนา ทุกคนที่อาศัยอยู่บนผื่นแผ่นดินไทยได้รับความคุ้มครองหลักประกันสุขภาพอย่างถ้วนหน้า ด้วยความมั่นใจ สำนักงานส่งเสริมสุขภาพกระทรวงสาธารณสุข(๒๕๔๕ )ได้กำหนดแนวการดำเนินงานโรงเรียส่งเสริมสุขภาพ เป็นการพัฒนาที่มีความคลอบคลุมทุกมิติด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม โดยสร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันของทุกคนทั้งในโรงเรียนและชุมชนให้สามารถนำความรุ้และทักษะด้านสุขภาพมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันด้วยการดูแลใส่ใจสุขภากพของตนเองและผู้อื่นรวมทั้งสามารถตัดสินใจในการควบคุมสภาวการณ์ที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ โดยเฉพาะนักเรียนจะได้รับการปลูกฝังทัศนคติ ฝึกทักษะและพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมสมาชิกในชุมชนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่สะอากดและปลอดภัยทำให้บรรลุเป้าหมายของการพัฒนาคนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีและอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข สถานศึกษาซึ่งเป็นหน่วยงานหนึ่งที่ส่งเสริมการมีสุขนิสัยที่ดีของเด็กวัยเรียน ฉะน้ันการสร้างตระหนักถึงความสำคัญในดูแลสุขบัญญัติ สุขภาพทันตของตนเองทักษะในการแปรงฟันต้องอาศัยการดำเนินงานอย่างมีสว่นร่วมทั้งจากคณะครู ผู้ปกครอง หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง(วิยดา ล้อมทอง) การที่เด็กวัยเรียนในสถานศึกษาต่างๆที่ตระหนักถึงเรื่องการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพและการบริโภคอาหารมารวมกลุ่มกันตั้งเป็นชมรมอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภค อย.น้อยเป็นกิจกรรมหนึ่งที่ส่งเสริมนักเรียนที่เป็นอาสาสมัครในการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพทั้งในโรงเรยนและชุมชน การรณรงค์การให้ความรู้และะความเข้าใจมองเห็นความสำคัญการดูแลทันตสุขพที่ดี การออกกำลังกาย การรู้จักเลือกบริโภคการรู้จักเลือกรับประทานอาหมารที่ดีมีประโบชน์ มีส่วนให้เกิดพัฒนาการทางด้านสมอง มีสติปัยญาที่เฉลียวฉลาด อารมณ์แจ่มใส กระตือรือร้น ปรับตัวเข้าสังคมได้ง่าย ผิดผู้ที่รับประานอาหารไม่่มีประโยชน์จะทำไห้ร่างกายอ่่อแอ พัฒนาการทางด้านสติปัญญาลดน้อยลง อารมณ์หดหู่ ไม่แจ่มใส จนบางครั่้งอาจไม่สามารถดำเนินชีวิติร่วมกับผู้อื่นได้อย่างปกติสุขให้แก่เด็กวัยเรียน ผู้ปกครองได้ตระหนักถึงการดูแลสุขภาพด้วยสิ่งเหล่านี้มุ่งเน้นการพัฒนานักเรีนแบบองค์รวม ภายใต้แนวคิดการอยู่ร่วมกันของนักเรียนและบุคลากรในการเรียนรวมท้้งผู้ปกครองและชุมชน เพื่อให้โรงเรียนเป็นจุดเริ่มต้นและศูนย์รวมของการพัฒนาสุขภาพในชุมชน ประกอบกับกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่มีเจตนารมร์ในการสร้างการมีส่วนร่วมขององค์การปกค่รองส่วนท้องถิ่นให้้เข้ามามีบทบาทในการดุแลสุขภาพของประชาชนในพื้นที่สนับสนุนให้ประชนชนได้แสดงบทบาทในการพึ่งตนเองด้านสุขภาพการดูแลสุขภาพตนเอง การสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคการฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพตระหนักต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและการดำรงชีวิตสามารถดูแลสุขภาพได้ด้วยตนเองและการสร้างกลไกในสังคมที่จะต้องเข้ามาร่วมกันแก้ปัญหาต่างๆที่มีผลต่อสุขภาพให้ลุล่วง สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ(สปสช)(๒๕๕๗)กำหนดวัตถุประสงค์ของกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการหรือสถานบริการ หรือหน่วยงานสาธารณสุขหรือหน่วยงานอื่นหรือสนับสนุนและส่งเสริมให้กลุ่มหรือกลุ่มองค์กรประชาชนดำเนินกิจกรรมด้นสาธารณสุขในพื้นที่ เพื่อให้กลุ่มแม่และเด็ก กลุ่มคนพิการกลุ่มผู้ประกอบอาชีพที่มีความเสี่ยงและกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่อยู่ในพื้นที่สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพมากขึ้นโดยส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมตามความพร้อม ความเหมาะสมและความต้องการของประชาชนในพื้นที่             โรงเรียนบ้านห้วยมะพร้าวสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล ในฐานะสถาบันพัฒนาเด็กและเยาวชนเล็งเห็นความสำคัญในการยกระดับคุณภาพชีวิตและเยาวชนเนื่องจากเป็นกลุ่มเป้าหมายตามประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ.๒๕๕๗ กองทุนหลักประกันสุขภาพที่ต้องการส่งเสริมพัฒนาการตามวัย กระบวนการเรียนรู้ ความฉลาดทางปัญญาและอารมณ์ การป้องกันและลดปัญหาด้านสารเสพติด ยาสูบ เครื่องดื่มแอลกอฮอร์ การรณรงค์ประชาสัมพันธ์ ฝึกอบรม ให้ความรุ้ ในกลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน ครู ผู้ปกครองและชุมชนมีบทบาทสำคัญยิ่งในการพัฒนาส่งเสริมสุขภาพบัญญัติที่ดีและพัฒนาการของเด็กวัยเรียน การปลูกฝังพฤติกรรมสุขภาพท้้งด้านการดูแลสุขภาพตนเอง ความสะอาดของสิ่งแวดล้อมเพื่อให้สามรถปฎิบัติตนเองได้ดียิ่งขึ้น กล่าวคือการส่งเสริมให้ผู้ปกครองเห็นความสำคัญในการส่งเสริมสนับสนุนเด็กในฐานะผู้ปกครองเด็กและเยาวชนปฎิบัติตนเองและถ่ายทอดให้ผู้อื่นได้จึงได้จัดทำโครงการสุขภาพดีที่ห้วยมะพร้าว เสนอกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลละงู เพื่อดำเนินกิจกรรมการส่งเสริมสุขภาพของนักเรียนอย่างต่อเนื่องสามารถพัฒนาและยกระดับคุณภาพของโรงเรียนด้านการจัดการสุขภาพนำมาซึ่งการผ่านการประเมินและรับรองการเป็นโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพในโอกาสต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมและพัฒนาให้เด็กระดับปฐมวัยมีสุขภาพช่องปากที่ดีและฟันที่แข็งแรง
  2. เพื่อสร้างจิตสำนึกการขับขี่่การใช้ถนนอย่างตามกฏหมายอย่างปลอดภัย
  3. เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับสมุนไพรและสามารถแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพและป้องกันโรคได้
  4. เพื่อเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการของนักเรียนระดับปฐมวัยที่มีความเสี่ยงต่อภาวะทุพโภชนาการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมเด็กมะพร้าวยิ้มสวย
  2. กิจกรรมสัญจรปลอดภัยบนถนน
  3. กิจกรรรมสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
  4. กิจกรรมขยับกายสร้างสุขภาพ
  5. กิจกรรมรายงานผลการประเมินโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 80
กลุ่มวัยทำงาน 70
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

-เด็กวัยเรียนระดับประถมศึกษามีสุขภาพช่องปากที่ดีและฟันที่แข็งแรง -เด็กวัยเรียนระดับประถมศึกษามีความรู้และได้ตระหนักความสำคัญด้านการขับขี่การใช้ถนนอย่างตามกฎหมายที่กำหนด -เด็กวัยเรียนระดับประถมศึกษาได้เรียนรู้เกี่ยวกับสมุนไพรและสมามารถแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพและป้องกันโรค -การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนการของวัยเรียนระดับประถมศึกษาที่มีความเสี่ยงต่อภาวะทุพโภชนาการ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมเด็กมะพร้าวยิ้มสวย

วันที่ 26 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมมีควารู้ความเข้าใจ

 

0 0

2. กิจกรรมสัญจรปลอดภัยบนถนน

วันที่ 29 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมมีความรู้ความเข้าใจ

 

0 0

3. กิจกรรรมสมุนไพรเพื่อสุขภาพ

วันที่ 24 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมมีความรู้ความเข้าใจ

 

0 0

4. กิจกรรมขยับกายสร้างสุขภาพ

วันที่ 30 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมมีความรู้

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ผลการดำเนินโครงการสุขภาพดีที่ห้วยมะพร้าว กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลละงู ดำเนินการตามโครงการ ตามภาระหน้าที่ รูปแบบและวิธีการที่วางแผนไว้ให้สอดคล้องกับลักษณะกิจกรรม ระยะเวลาที่กำหนดตามแผนงาน โดยร่วมมือกับทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การนำเสนอรายงานผลโครงการตามวัตถุประสงค์ ด้านปัจจัยเบื้องต้น ด้านกระบวนการดำเนินงาน ด้านความพึงพอใจของครู นักเรียน ผู้ปกครอง ที่มีต่อกิจกรรมตามโครงการสุขภาพดีที่ห้วยมะพร้าว กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลละงู

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมและพัฒนาให้เด็กระดับปฐมวัยมีสุขภาพช่องปากที่ดีและฟันที่แข็งแรง
ตัวชี้วัด : นักเรียนวัยเรียนระดับประถมศึกษาร้อยละ ๕๐ มีสุขภาพช่องปากที่ดีและฟันที่แข็งแรง
0.00

 

2 เพื่อสร้างจิตสำนึกการขับขี่่การใช้ถนนอย่างตามกฏหมายอย่างปลอดภัย
ตัวชี้วัด : -โรงเรียนสามารถดำเนินการพัฒนาการขับขี่การใช้ถนนอย่างตามกฎหมายร้อยละ ๙๐ ของนักเรียนทีจิตสำนึกการมีส่วนร่วมในการชับขี่การใช้ถนนอย่างตามกฎหมายอย่งปลอดภัย -ร้อยละ ๘๐ ของนักเรียนมีพฤติกรรมการขับขี่การใช้ถนนอย่างตามกฎหมายอย่างปลอดภัย
0.00

 

3 เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับสมุนไพรและสามารถแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพและป้องกันโรคได้
ตัวชี้วัด : -นักเรียนและผู้ปกครองร้้อยละ ๙๐ มีความรู้เกี่ยวกับสมุนไพร -นักเรียนและผู้ปกครองร้อยละ ๘๐ สามารถแปรรุปเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพและป้องกันโรคจากสมุนไพรได้
0.00

 

4 เพื่อเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการของนักเรียนระดับปฐมวัยที่มีความเสี่ยงต่อภาวะทุพโภชนาการ
ตัวชี้วัด : -นักเรียนกลุ่มเสี่ยงที่มีภาวะทุพโภชนาการ ร้อยละ ๘๐ มีภาวะโภชนาการสมส่วน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 80
กลุ่มวัยทำงาน 70
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมและพัฒนาให้เด็กระดับปฐมวัยมีสุขภาพช่องปากที่ดีและฟันที่แข็งแรง (2) เพื่อสร้างจิตสำนึกการขับขี่่การใช้ถนนอย่างตามกฏหมายอย่างปลอดภัย (3) เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับสมุนไพรและสามารถแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพและป้องกันโรคได้ (4) เพื่อเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการของนักเรียนระดับปฐมวัยที่มีความเสี่ยงต่อภาวะทุพโภชนาการ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมเด็กมะพร้าวยิ้มสวย (2) กิจกรรมสัญจรปลอดภัยบนถนน (3) กิจกรรรมสมุนไพรเพื่อสุขภาพ (4) กิจกรรมขยับกายสร้างสุขภาพ (5) กิจกรรมรายงานผลการประเมินโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสุขภาพดีที่ห้วยมะพร้าว จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-L5313-2-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายปรีชา หมีนคลาน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด