กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะรัง


“ โครงการปันยิ้มสร้างสุขผู้สูงอายุ ปี 2562 ”

ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายแซะห์อับดุลเราะห์มาน อาเยาะแซ

ชื่อโครงการ โครงการปันยิ้มสร้างสุขผู้สูงอายุ ปี 2562

ที่อยู่ ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62 – L3032 -02-16 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 11 เมษายน 2562 ถึง 11 เมษายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปันยิ้มสร้างสุขผู้สูงอายุ ปี 2562 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปันยิ้มสร้างสุขผู้สูงอายุ ปี 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปันยิ้มสร้างสุขผู้สูงอายุ ปี 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 62 – L3032 -02-16 ระยะเวลาการดำเนินงาน 11 เมษายน 2562 - 11 เมษายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 85,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันจะพบว่านานาประเทศทั่วโลกต่างกำลังก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ และมีแนวโน้มจะกลายเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ในอีกไม่ช้า นับว่าเป็นความท้าทายที่แทบทุกประเทศทั่วโลกต้องเผชิญอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ โดยการเปลี่ยนแปลงโครงการสร้างประชากรดังกล่าวย่อมส่งผลกระทบทั้งต่อเศรษฐกิจและสังคมในประเทศ ปัจจุบันจำนวนประชากรผู้สูงอายุของโลกสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยจำนวนประชากรผู้สูงอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป ประเทศไทยเป็นอีกหนึ่งประเทศที่เข้าข่ายปัญหาสังคมผู้สูงอายุ ประเทศกำลังจะก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ การเปลี่ยนแปลงและเตรียมพร้อมให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี และใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุขเป็นเรื่องสำคัญ การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรของประเทศไทย ทำให้ประชากรในวัยผู้ผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น การเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจและสังคม มีผลให้ลักษณะครอบครัวไทยเปลี่ยนจากครอบครัวขยาย (Extend Family) ไปสู่ครอบครัวเดี่ยว (Nuclear Family) ความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในครอบครัวลดลง จำนวนผู้ที่จะทำหน้าที่ดูแลผู้สูงอายุในครอบครัวลดลง มีเวลาให้ผู้สูงอายุลดลง ขาดการให้ความรักและความอบอุ่น ผู้สูงอายุจึงถูกทอดทิ้งให้อยู่โดดเดี่ยวและดำเนินชีวิตเพียงลำพัง
สภาพสังคมเปลี่ยนไป ทำให้ผู้สูงอายุต้องเผชิญกับปัญหาในการปรับตัวเพื่อให้สอดคล้องกับสังคมปัจจุบันทั้งในด้านความคิด ความเข้าใจและค่านิยมต่างๆ ซึ่งก่อให้ผู้สูงอายุเกิดความน้อยใจ ความเครียด ความคับข้องใจ แยกตัวออกจากสังคม ขาดสัมพันธภาพกับสมาชิกในครอบครัว ท้อแท้และเบื่อหน่ายในชีวิต ประกอบกับวัยผู้สูงอายุเป็นวัยที่ต้องเผชิญกับรูปแบบการดำเนินชีวิตแบบใหม่ ต้องออกจากงานมีรายได้ลดลง ภาวะสุขภาพเสื่อมลง มีโรคทางกายเพิ่มมากขึ้นมีสารชีวเคมีและฮอร์โมนลดลง การสูญเสียสิ่งสำคัญของชีวิต เช่น การสูญเสียคู่ชีวิต เพราะตายจากการสูญเสียบุตรเพราะแยกไปมีครอบครัว การสูญเสียตำแหน่งหน้าที่การงาน การสูญเสียสถานภาพหรือบทบาททางสังคม ตลอดจนการสูญเสียการเป็นที่พึ่งของครอบครัว สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นปัจจัยสำคัญ ที่ส่งผลกระทบต่อจิตใจของผู้สูงอายุ หากผู้สูงอายุไม่ได้รับการดูแลเอาใจใส่จากบุคคลใกล้ชิดด้วยแล้วจะยิ่งทำให้ผู้สูงอายุว้าเหว่ มีภาวะซึมเศร้าและความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองลดลงจนเกิดความรู้สึกสิ้นหวัง แยกตัวออกจากสังคม เป็นผลให้เกิดความผิดปกติทางจิตใจที่รุนแรงและอาจเป็นอันตรายต่อชีวิตได้ การสร้างสุขภาวะตามแนวทางของสำนักงานกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ซึ่งขออ้างเอกสารประกอบการอบรมของ ผศ.ดร.ภก.พงศ์เทพสุธีรวุฒิ ได้ให้ความหมายของระบบสุขภาพ ได้ว่า “ระบบสุขภาพ หมายความว่า ระบบความสัมพันธ์และการจัดการทั้งมวลที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ ระบบสุขภาพเป็นระบบความสัมพันธ์แบบองค์รวมเชื่อมโยงองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพอย่างสมดุล ไม่ใช่การมองเฉพาะจุดใดจุดหนึ่ง เช่น มองเฉพาะคน หรือมองเฉพาะโรคทางการแพทย์ แต่จะต้องมองไปถึงสังคมคุณภาพชีวิตมิติอื่นๆ เป็นต้น การดำเนินงานเพื่อนำไปสู่สุขภาวะ จึงเป็นบทบาทของทุกคน ทุกภาคี ทุกหน่วยงาน”
มิติสุขภาวะ หมายถึง การมองถึงสุขภาวะทางกาย สุขภาวะทางจิต สุขภาวะทางสังคมและสุขภาวะทางปัญญาซึ่งสอดคล้องกับโครงการสร้างเสริมสุขภาวะแก่ผู้สูงอายุ เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับความรู้ทางด้านการส่งเสริมสุขภาวะทางกาย สุขภาวะทางจิต สุขภาวะทางสังคมและสุขภาวะทางปัญญา ให้สอดคล้องกับแนวทางอัลอิสลามซึ่งศาสดามูฮำหมัด (ซล.)ความสำคัญกับการส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุ ให้สามารถดำรงชีวิตและพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องส่งผลให้ มีสุขภาพสมบูรณ์ตามควรแก่วัย จังหวัดปัตตานีมีแนวโน้มผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้นทุกปี โดยพิจารณาจากข้อมูลสำรวจการวิเคราะห์สถานการณ์ผู้สูงอายุจังหวัดปัตตานี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2556 – 2560 พบว่ามีจำนวนผู้สูงอายุในจังหวัดปัตตานีมีอัตราเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ในปี 2556 จำนวนผู้สูงอายุ 77,086 คน(ร้อยละ 11.36), ในปี 2557 จำนวนผู้สูงอายุ 78,775 คน (11.48), ในปี 2558 จำนวนผู้สูงอายุ 80,223 คน (11.56), ในปี 2559 จำนวนผู้สูงอายุ 80,742 คน (11.52)และในปี 2560 มีจำนวนผู้สูงอายุ 81,956 คน (11.55) ตามลำดับ ซึ่งถือว่าเป็นกลุ่มบุคคลที่ควรรักษาและทำนุบำรุงดูแลให้มีชีวิตที่ดีตามวัยของผู้อาวุโส ตำบลยะรังมีแนวโน้มผู้สูงอายุเพิ่มมากขึ้นทุกปี ตำบลยะรังมีผู้สูงอายุ60 ปีขึ้นไป จำนวน605คน ซึ่งเป็นแนวโน้มผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้นทุกปี
ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลยะรัง ได้เล็งเห็นความสำคัญต่อผู้สูงอายุ ซึ่งถือว่าเป็นบุคคลที่มีคุณค่าควรแก่การรักษาและทำนุบำรุงดูแลให้มีชีวิตที่ดีตามวัยของผู้อาวุโส จึงได้จัดทำโครงการปันยิ้มสร้างสุขผู้สูงอายุ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองตลอด เปิดพื้นที่แสดงศักยภาพภูมิความรู้ ให้ผู้สูงอายุสามารถดูแลสุขภาพของตนเองเบื้องต้น ตลอดจนยอมรับการเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย จิตใจ สนใจบุคคลอื่นและสิ่งแวดล้อมเพิ่มขึ้น และยังเป็นการตอบสนองเจตนารมณ์ของผู้บริหารในการส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ อย่างไรก็ตามการดำเนินงานดังกล่าวมีการบูรณาการแบบมีส่วนร่วมในทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในกระบวนการเพื่อให้เกิดการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลยะรังอย่างเป็นองค์รวมโดยสิ่งที่สำคัญที่สุดคือสุขภาพกาย สุขภาพจิต สุขภาพสังคม และสุขภาพปัญญา ด้วยเหตุดังกล่าว ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลยะรัง จึงได้เห็นความสำคัญและขอเป็นส่วนหนึ่งในการปันยิ้มสร้างสุขผู้สูงอายุตำบลยะรัง ปีงบประมาณ2562

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ส่งเสริมการเรียนรู้โภชนาการผู้สูงวัย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 708
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 42
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้สูงอายุและประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการรับประทานอาหารที่มีความเหมาะสมแก่ผู้สูงวัย และในความรู้ไปปรับใช้กับพฤติกรรมการรับประทานอาหารในชีวิตประจำวัน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 750
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 708
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 42
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ส่งเสริมการเรียนรู้โภชนาการผู้สูงวัย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปันยิ้มสร้างสุขผู้สูงอายุ ปี 2562 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62 – L3032 -02-16

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายแซะห์อับดุลเราะห์มาน อาเยาะแซ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด