กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าพระยา


“ โครงการแม่ลูกปลอดภัย ห่างไกลภาวะโลหิตจาง ”

อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางนนทยา ตั้งภูริ

ชื่อโครงการ โครงการแม่ลูกปลอดภัย ห่างไกลภาวะโลหิตจาง

ที่อยู่ อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L5261-1-8 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการแม่ลูกปลอดภัย ห่างไกลภาวะโลหิตจาง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าพระยา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการแม่ลูกปลอดภัย ห่างไกลภาวะโลหิตจาง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการแม่ลูกปลอดภัย ห่างไกลภาวะโลหิตจาง " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L5261-1-8 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,050.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าพระยา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ภาวะโลหิตจาง ถือเป็นความผิดปกติทางระบบเลือดที่พบได้บ่อยที่สุดในสตรีตั้งครรภ์ โดยมีอุบัติการณ์เฉลี่ยร้อยละ ๔๒ ของการตั้งครรภ์ แต่ในประเทศที่กำลังพัฒนาพบความชุกมากถึง ร้อยละ ๓๕-๗๕ และจะมีความรุนแรงที่มากขึ้นดังมีรายงานการเสียชีวิตของมารดาสัมพันธ์กับภาวะโลหิตจางถึงร้อยละ ๒๐ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในแถบแอฟริกา และเอเชียตอนใต้ โดยสาเหตุที่พบบ่อยที่สุดเกิดจาก ภาวะขาดธาตุเหล็ก สถานการณ์ภาวะโลหิตจางของสตรีตั้งครรภ์ไทยจากรายงานของกรมอนามัย พบว่ามีแนวโน้มสูงขึ้นทุกปี ร้อยละ ๒๐-๓๐ ผลการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก ปี ๒๕๖๑ ของศูนย์สุขภาพชุมชนสะบ้าย้อย ตำบลสะบ้าย้อย อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา พบว่า ร้อยละภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ เท่ากับ ๒๓.๙ ( เกณฑ์ไม่เกิน ร้อยละ๑๐ ) ซึ่งผลของภาวะโลหิตจางต่อการตั้งครรภ์ จะส่งผลต่อมารดา คือ ทำให้การทำงานของหัวใจหนักขึ้น เพิ่มความเสี่ยงต่อภาวะหัวใจล้มเหลว โอกาสติดเชื้อต่าง ๆ ง่ายขึ้น ช่วงการคลอดและหลังคลอดมีผลกระทบซ้ำเติมต่อมารดาจากการเสียเลือด ทำให้เกิดจากภาวะช็อก หรือ ภาวะหัวใจล้มเหลว ได้ สัมพันธ์กับการเกิดภาวะซึมเศร้าหลังคลอด ส่วนผลต่อทารก คือ บางสาเหตุสามารถถ่ายทอดความเสี่ยงไปยังทารกได้ เช่น ธาลัสซีเมีย ทารกน้ำหนักน้อยกว่าปกติ หรือทารกโตช้าในครรภ์ เพิ่มอัตราการตายปริกำเนิด และการคลอดก่อนกำหนดมีเหล็กสะสมน้อยกว่าปกติ หากไม่ได้รับธาตุเหล็กเสริมหลังคลอด จะมีพัฒนาการและเจริญเติบโตของสมองที่ช้ากว่าเด็กทั่วไป ดังนั้นศูนย์สุขภาพชุมชนสะบ้าย้อยร่วมกับอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านตำบลสะบ้าย้อย ได้เห็นความสำคัญของการรณรงค์งานอนามัยแม่และเด็กเพื่อให้มีหญิงมีครรภ์มีสุขภาพสมบูรณ์ และกำเนิดบุตรที่มีสุขภาพที่แข็งแรงทางกายและจิตใจภายใต้โครงการ แม่ลูก ปลอดภัยห่างไกล ภาวะโลหิตจาง โดยให้ความรู้แก่กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขผู้นำชุมชนแกนนำสตรีและหญิงมีครรภ์ในเขตรับผิดชอบ มีความรู้ในงานอนามัยแม่และเด็ก การประชาสัมพันธ์และการสร้างกระแสอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้หญิงมีการครรภ์ฝากครรภ์ทันทีเมื่อทราบว่าตั้งครรภ์ การฝากครรภ์อย่างสม่ำเสมอตามเกณฑ์จะช่วยให้ทราบถึงการเจริญเติบโตรวมถึงความผิดปกติของทารกในครรภ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ตระหนักถึงการมาฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนอายุครรภ์ ๑๒ สัปดาห์
  2. เพื่อให้มารดามีความรู้ในการดูแลสุขภาพแม่และเด็กได้ถูกต้องและเข้าถึงบริการสาธารณสุขที่มีคุณภาพ ลด ภาวะแทรกซ้อนจากการตั้งครรภ์และการคลอด
  3. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้เกี่ยวกับภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในหญิงตั้งครรภ์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับประชุมแกนนำ การดูแลหญิงตั้งครรภ์เคลื่อนที่
  2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับจัดอบรมให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์และสามีตามแผนการสอนโรงเรียนพ่อแม่
  3. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับจัดอบรมให้ความรู้เรื่องการแก้ไขปัญหาภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์
  4. ค่าวิทยากร
  5. ค่าป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ
  6. ค่าเอกสาร แผ่นพับ ซีดี

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 90
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 220
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.หญิงตั้งครรภ์ในชุมชนมีความตื่นตัวและตระหนักถึงความสำคัญเรื่องการดูแลสุขภาพแม่และเด็ก พร้อมทั้งให้ความร่วมมือ 2.ภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ลดลง โดยมีค่าไม่เกิน ร้อยละ ๑๐ 3.หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ และสามารถเลือกรับประทานอาหารที่เหมาะสม 4.หญิงวัยเจริญพันธุ์ที่อยู่กินกับสามีในชุมชน มีความตื่นตัวและตระหนักถึงความสำคัญในการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนอายุครรภ์ ๑๒ สัปดาห์ โดยมีค่าตัวชี้วัด มากกว่า ร้อยละ ๘๐


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ตระหนักถึงการมาฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนอายุครรภ์ ๑๒ สัปดาห์
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อให้มารดามีความรู้ในการดูแลสุขภาพแม่และเด็กได้ถูกต้องและเข้าถึงบริการสาธารณสุขที่มีคุณภาพ ลด ภาวะแทรกซ้อนจากการตั้งครรภ์และการคลอด
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้เกี่ยวกับภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในหญิงตั้งครรภ์
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 310
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 90
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 220
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ตระหนักถึงการมาฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนอายุครรภ์ ๑๒ สัปดาห์ (2) เพื่อให้มารดามีความรู้ในการดูแลสุขภาพแม่และเด็กได้ถูกต้องและเข้าถึงบริการสาธารณสุขที่มีคุณภาพ ลด ภาวะแทรกซ้อนจากการตั้งครรภ์และการคลอด (3) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้เกี่ยวกับภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในหญิงตั้งครรภ์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับประชุมแกนนำ การดูแลหญิงตั้งครรภ์เคลื่อนที่ (2) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับจัดอบรมให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์และสามีตามแผนการสอนโรงเรียนพ่อแม่ (3) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับจัดอบรมให้ความรู้เรื่องการแก้ไขปัญหาภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ (4) ค่าวิทยากร (5) ค่าป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ (6) ค่าเอกสาร แผ่นพับ  ซีดี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการแม่ลูกปลอดภัย ห่างไกลภาวะโลหิตจาง จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L5261-1-8

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางนนทยา ตั้งภูริ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด