กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา


“ โครงการพัฒนาศักยภาพด้านฉุกเฉินเบื้องต้นสำหรับประชาชนในพื้นที่เทศบาลนครยะลา ”

ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายภัคณัฐ วีรขจร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพด้านฉุกเฉินเบื้องต้นสำหรับประชาชนในพื้นที่เทศบาลนครยะลา

ที่อยู่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 62 – L7452 – 2 – 01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 19 มีนาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาศักยภาพด้านฉุกเฉินเบื้องต้นสำหรับประชาชนในพื้นที่เทศบาลนครยะลา จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพด้านฉุกเฉินเบื้องต้นสำหรับประชาชนในพื้นที่เทศบาลนครยะลา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพด้านฉุกเฉินเบื้องต้นสำหรับประชาชนในพื้นที่เทศบาลนครยะลา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 62 – L7452 – 2 – 01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 19 มีนาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 43,050.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามพระราชบัญญัติการแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ.2551 มีเจตนารมณ์ให้ผู้ป่วยฉุกเฉินได้รับการคุ้มครองสิทธิ์ในการเข้าถึงระบบการแพทย์ฉุกเฉินอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม มีคุณภาพมาตรฐาน โดยได้รับการช่วยเหลือและรักษาพยาบาลที่มีประสิทธิภาพ โดยกำหนดให้สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ จัดให้มีการศึกษาและฝึกอบรมผู้ปฏิบัติการในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน รวมถึงการพัฒนาองค์ความรู้ผู้ปฏิบัติการทุกระดับ เพื่อให้มีความพร้อมสำหรับการจัดการให้ผู้ป่วยฉุกเฉินได้รับการปฏิบัติการฉุกเฉินจนพ้นภาวะฉุกเฉิน ทั้งในภาวะปกติและภัยพิบัติ การดูแลรักษาผู้บาดเจ็บและเจ็บป่วยฉุกเฉินก่อนนำส่งสถานพยาบาลเป็นระบบหนึ่ง ที่มีความสำคัญเพราะช่วงก่อนนำส่งโรงพยาบาลเป็นชั่วโมงทอง (Golden Hour) ของการรักษาพยาบาลผู้บาดเจ็บจากอุบัติเหตุต่าง ๆ ที่จะทำให้ผู้ที่เจ็บป่วยฉุกเฉินรอดชีวิตได้มากที่สุดกว่าการรักษาที่โรงพยาบาล ซึ่งสาระสำคัญตามแผนหลักการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ ได้กำหนดยุทธศาสตร์ของการพัฒนาระบบปฏิบัติการฉุกเฉิน ที่สำคัญคือ การมีความรู้ความสามารถในเรื่องระบบการแพทย์ฉุกเฉิน การประเมินสถานการณ์และสภาพผู้ป่วยฉุกเฉิน การดูแลช่วยเหลือ ณ จุดเกิดเหตุและระหว่างนำส่งการช่วยฟื้นคืนชีพ การช่วยคลอดฉุกเฉิน การยกและการเคลื่อนย้าย และการจัดการทางแพทย์ในสถานการณ์สาธารณภัย อีกทั้งในปัจจุบัน สภาพเหตุการณ์ความไม่สงบในพื้นที่ภาคใต้ จะเห็นได้ว่า บทบาทของประชาชนร่วมกับบุคลากรการแพทย์ฉุกเฉินและการประสานงานกับหน่วยงานต่าง ๆ ในเหตุการณ์เกิดสาธารณภัยหมู่มีความสำคัญอย่างยิ่ง ดังนั้น ประชาชนต้องมีความรู้ ความเข้าใจ มีความพร้อม และสามารถปฏิบัติการช่วยเหลือผู้บาดเจ็บได้อย่างถูกต้องเหมาะสมและทันท่วงที
จากผลการดำเนินงานของระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดยะลา ตั้งแต่เดือน ตุลาคม 2560 ถึงเดือนกันยายน 2561 พบว่า จำนวนอุบัติเหตุยานยนต์ 1, 689 ราย หายใจลำบาก/ติดขัด 1,151 ราย พลัดตกหกล้ม/อุบัติเหตุ/เจ็บปวด 590 ราย ไม่รู้สติ/ไม่ตอบสนอง/หมดสติชั่ววูบ 354 ราย เจ็บแน่นทรวงอก/หัวใจ/มีปัญหาทางด้านหัวใจ 241 ราย หัวใจหยุดเต้น 32 ราย (รายงานสถิติการแพทย์ฉุกเฉิน, 2561) จากความสำคัญดังกล่าว การฝึกอบรมประชาชนในพื้นที่เสี่ยงโดยเฉพาะการเกิดอุบัติเหตุทางถนนให้มีความรู้ และทราบถึงแนวทางการช่วยเหลือดูแลผู้ป่วยอย่างถูกต้อง มีความสำคัญเป็นอย่างมาก รวมทั้งการฝึกปฏิบัติตามมาตรฐานการปฏิบัติ จนเข้าใจและจำได้ จะนำไปสู่การช่วยเหลือที่มีประสิทธิภาพ วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดยะลา จึงได้จัดโครงการพัฒนาศักยภาพด้านฉุกเฉินเบื้องต้นสำหรับประชาชนในพื้นที่ชุมชนหัวสะพานสะเตง เขตเทศบาลนครยะลา ขึ้นในครั้งนี้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อพัฒนาความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการดูแลตนเองและบุคคลใกล้ชิดเมื่อเจ็บป่วยฉุกเฉิน
  2. 2. เพื่อพัฒนาศักยภาพด้านฉุกเฉินสำหรับประชาชน
  3. 3. เพื่อสร้างความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมกิจกรรมโครงการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 ประชุมเตรียมความพร้อมและสร้างความเข้าใจต่อวัตถุประสงค์โครงการ เป้าหมาย ตัวแทนชุมชน ทีมผู้จัดโครงการ และ ผู้ที่เกี่ยวข้อง จำนวน 30 คน
  2. กิจกรรมที่ 2 การอบรมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาศักยภาพด้านฉุกเฉินสำหรับประชาชนในพื้นที่เทศบาลนครยะลา เป้าหมาย ประชาชนชุมชนหัวสะพานสะเตง เขตเทศบาลนครยะลา และทีมผู้จัดโครงการ จำนวน 100 คน
  3. กิจกรรมที่ 3 การจัดนิทรรศการ และประชาสัมพันธ์การพัฒนาศักยภาพด้านฉุกเฉินสำหรับประชาชนภายในเขตชุมชนเมืองเทศบาลนครยะลา

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ลดอัตราการเจ็บป่วยฉุกเฉิน/บาดเจ็บเพิ่มเติม/เพิ่มโอกาสรอดชีวิต ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชนในพื้นที่ 2. การพัฒนา และสร้างองค์ความรู้ด้านการแพทย์ฉุกเฉินการพัฒนาการขับเคลื่อนนโยบาย และเห็นความสำคัญของการพัฒนาศักยภาพด้านฉุกเฉินสำหรับประชาชนเพื่อการปรับเปลี่ยน และพัฒนาการดูแลตนเองและบุคคลใกล้เคียงเมื่อเจ็บป่วยฉุกเฉิน 3. สร้างเสริมการพัฒนาการมีส่วนร่วมของชุมชน และภาคีเครือข่ายด้านสุขภาพ ส่งผลให้เกิดเจตคติที่ดีในการดูแลผู้รับบริการด้านสุขภาพสำหรับผู้รับบริการในชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อพัฒนาความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการดูแลตนเองและบุคคลใกล้ชิดเมื่อเจ็บป่วยฉุกเฉิน
ตัวชี้วัด : 1. ประชาชนอย่างน้อยร้อยละ 80 ที่เข้าร่วมโครงการมีค่าคะแนนความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการดูแลตนเองเมื่อเจ็บป่วยฉุกเฉินเพิ่มขึ้น
0.00

 

2 2. เพื่อพัฒนาศักยภาพด้านฉุกเฉินสำหรับประชาชน
ตัวชี้วัด : 2. ประชาชนอย่างน้อยร้อยละ 80 ได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านฉุกเฉิน
0.00

 

3 3. เพื่อสร้างความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมกิจกรรมโครงการ
ตัวชี้วัด : 3. ประชาชนอย่างน้อยร้อยละ 80 ที่เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมกิจกรรมโครงการในระดับมาก (มากกว่า 3.5 จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน)
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อพัฒนาความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการดูแลตนเองและบุคคลใกล้ชิดเมื่อเจ็บป่วยฉุกเฉิน (2) 2. เพื่อพัฒนาศักยภาพด้านฉุกเฉินสำหรับประชาชน (3) 3. เพื่อสร้างความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมกิจกรรมโครงการ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 ประชุมเตรียมความพร้อมและสร้างความเข้าใจต่อวัตถุประสงค์โครงการ เป้าหมาย ตัวแทนชุมชน ทีมผู้จัดโครงการ และ ผู้ที่เกี่ยวข้อง  จำนวน 30 คน (2) กิจกรรมที่ 2  การอบรมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาศักยภาพด้านฉุกเฉินสำหรับประชาชนในพื้นที่เทศบาลนครยะลา  เป้าหมาย ประชาชนชุมชนหัวสะพานสะเตง เขตเทศบาลนครยะลา และทีมผู้จัดโครงการ จำนวน 100 คน (3) กิจกรรมที่ 3 การจัดนิทรรศการ และประชาสัมพันธ์การพัฒนาศักยภาพด้านฉุกเฉินสำหรับประชาชนภายในเขตชุมชนเมืองเทศบาลนครยะลา

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาศักยภาพด้านฉุกเฉินเบื้องต้นสำหรับประชาชนในพื้นที่เทศบาลนครยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 62 – L7452 – 2 – 01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายภัคณัฐ วีรขจร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด