กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา


“ โครงการค่ายอบรมเชิงปฏิบัติการป้องกันภัยยาเสพติด วิทยาลัยอาชีวศึกษาผดุงประชายะลา ”

ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวอัสมา จินดารัตน์ เลขานุการองค์การนักวิชาชีพในอนาคตแห่งประเทศไทย

ชื่อโครงการ โครงการค่ายอบรมเชิงปฏิบัติการป้องกันภัยยาเสพติด วิทยาลัยอาชีวศึกษาผดุงประชายะลา

ที่อยู่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61 – L7452 – 2 – 09 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 19 มีนาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการค่ายอบรมเชิงปฏิบัติการป้องกันภัยยาเสพติด วิทยาลัยอาชีวศึกษาผดุงประชายะลา จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการค่ายอบรมเชิงปฏิบัติการป้องกันภัยยาเสพติด วิทยาลัยอาชีวศึกษาผดุงประชายะลา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการค่ายอบรมเชิงปฏิบัติการป้องกันภัยยาเสพติด วิทยาลัยอาชีวศึกษาผดุงประชายะลา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 61 – L7452 – 2 – 09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 19 มีนาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 47,160.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ หรือ พัฒนา “คน” เป็นกระบวนการต่อเนื่องตลอดชีวิตนับตั้งแต่อยู่ในครรภ์มารดาสู่วัยเด็ก วัยรุ่น วัยทำงาน และวัยชรา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงวัยเด็กเป็นวัยที่จะต้องได้รับการปลูกฝังสร้างคุณค่าให้กับตนเองและเห็นคุณค่าของผู้อื่นในการอยู่ร่วมกัน โดยให้ได้รับการพัฒนาทางด้านอารมณ์ สังคม สติปัญญาและจิตใจ เด็กและวัยรุ่นเป็นวัยที่มีปัญหาสุขภาพจิตได้มากที่สุดวัยหนึ่งซึ่งแสดงออกเป็นปัญหาพฤติกรรมหลายประการเช่นดื้อไม่เชื่อฟัง ละเมิดกฎเกณฑ์กติกาต่างๆ มีแฟนและมีเพศสัมพันธ์ใช้ยาเสพติดทำผิดกฎหมายปัญหาพฤติกรรมบางอย่างมักเกิดขึ้นมานาน จนทำให้การแก้ไขมักทำได้ยากการป้องกันปัญหาจังมีความจำเป็นและสำคัญมากกว่าการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นแล้วการป้องกันดังกล่าวควรเริ่มตั้งแต่การส่งเสริมสุขภาพจิตตั้งแต่เด็กควรเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพเด็กและเยาวชนในทุก ๆ ด้าน ปัญหาพฤติกรรมเด็กและเยาวชนที่พบบ่อยในสังคมปัจจุบันนี้เช่นไม่เรียนหนังสือ ติดเกมส์ ติดมือถือติดการพนันมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรการใช้และติดยาเสพติดการปรับตัวเข้ากับสังคมสาเหตุของปัญหาพฤติกรรมเด็กและเยาวชนคือจิตใจบุคลิกภาพความคิดการมองโลกการปรับตัวการเลี้ยงดูปัญหาของ พ่อแม่เทคโนโลยี และการสื่อสารต่างๆเช่น อินเตอร์เน็ต โทรศัพท์เคลื่อนที่
จากการสำรวจพบว่านักเรียน นักศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษาผดุงประชายะลาร้อยละ 30 มีพฤติกรรมเสี่ยง เช่น การมาสาย 113 คน ขาดเรียน 95 คนหนีเรียน 4 คน ติดบุหรี่ 22 คน ติดสารเสพติด 15 คน เที่ยวกลางคืน 12 คน และมี ความเสี่ยงในการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร 18 คน วิทยาลัยอาชีวศึกษาผดุงประชายะลาจึงจัดทำโครงการค่ายโครงการ ค่ายอบรมเชิงปฏิบัติการเยาวชนสดใส ห่างไกลยาเสพติดเพื่อรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหา ยาเสพติด โดยให้ความรู้ ความเข้าใจสร้างเจตคติ มีทักษะปฏิเสธให้นักเรียน ตระหนักถึงโทษและพิษภัยของยาเสพติดและเพศศึกษา ลดจำนวนกลุ่มเสี่ยงในสถานศึกษาสร้างเกราะป้องกันเรื่องยาเสพติดและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในทางที่ดีขึ้น สามารถนำความรู้ไปถ่ายทอดสู่ครอบครัวและชุมชนพร้อมเป็นตัวอย่างที่ดีแก่เยาวชนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1 เพื่อลดจำนวนนักเรียน นักศึกษากลุ่มเสี่ยงในวิทยาลัยฯ
  2. ข้อที่ 2 เพื่อให้นักเรียน นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ มีภูมิคุ้มกัน มีทักษะปฏิเสธ รู้ถึงโทษและพิษภัยของยาเสพติด
  3. ข้อที่ 3 เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำนักเรียนและสร้างมาตรการ ทางสังคมในการควบคุมปัญหายาเสพติดในระดับโรงเรียน
  4. ข้อที่ 4 เพื่อให้นักเรียน นักศึกษากลุ่มเสี่ยงปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ในทิศทางที่ดีขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 จัดประชุมชี้แจงเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ร่วมกับคณะอาจารย์ และนักเรียน นักศึกษาแกนนำ จำนวน 24 คน
  2. กิจกรรมที่ 2 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้แก่ นักเรียน นักศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษา ผดุงประชายะลา จำนวน 140 คน และครู อาจารย์ บุคลากร จำนวน 24 คน รวมเป็น 164 คน ระยะเวลา 1 วัน
  3. กิจกรรมที่ 3 การพัฒนาศักยภาพแกนนำนักเรียน ดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง เช่น - การจัดรายการเสียงตามสาย - การพูดสุนทรพจน์หน้าเสาธง - การจัดตั้งชมรมห่างไกลยาเสพติด

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 140
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียน นักศึกษากลุ่มเสี่ยงมีภูมิคุ้มกัน มีทักษะปฏิเสธ และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในทิศทางที่ดีขึ้น
  2. ปัญหาในสถานศึกษามีจำนวนลดลง
  3. สถานศึกษาเป็นที่ยอมรับของผู้ปกครอง ชุมชน หน่วยงานสถานประกอบการทั้งภาครัฐและเอกชน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 เพื่อลดจำนวนนักเรียน นักศึกษากลุ่มเสี่ยงในวิทยาลัยฯ
ตัวชี้วัด : 1. ลดอัตรากลุ่มเสี่ยงรายใหม่ในวิทยาลัยอาชีวศึกษาผดุงประชายะลา ร้อยละ 10
0.00

 

2 ข้อที่ 2 เพื่อให้นักเรียน นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ มีภูมิคุ้มกัน มีทักษะปฏิเสธ รู้ถึงโทษและพิษภัยของยาเสพติด
ตัวชี้วัด : 2. ผู้เข้าอบรมมีความรู้และเข้าใจโทษของพิษภัย มีภูมีคุ้มกันและมีทักษะปฏิเสธยาเสพติด ร้อยละ 80
0.00

 

3 ข้อที่ 3 เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำนักเรียนและสร้างมาตรการ ทางสังคมในการควบคุมปัญหายาเสพติดในระดับโรงเรียน
ตัวชี้วัด : 3. จำนวนครั้งของการดำเนินกิจกรรมผ่านแกนนำนักเรียน
0.00

 

4 ข้อที่ 4 เพื่อให้นักเรียน นักศึกษากลุ่มเสี่ยงปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ในทิศทางที่ดีขึ้น
ตัวชี้วัด : 4.ร้อยละของผู้เข้ารับอบรมมีความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ80
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 140
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 140
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อลดจำนวนนักเรียน นักศึกษากลุ่มเสี่ยงในวิทยาลัยฯ (2) ข้อที่ 2 เพื่อให้นักเรียน นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ มีภูมิคุ้มกัน มีทักษะปฏิเสธ รู้ถึงโทษและพิษภัยของยาเสพติด (3) ข้อที่ 3 เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำนักเรียนและสร้างมาตรการ ทางสังคมในการควบคุมปัญหายาเสพติดในระดับโรงเรียน (4) ข้อที่ 4 เพื่อให้นักเรียน นักศึกษากลุ่มเสี่ยงปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ในทิศทางที่ดีขึ้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 จัดประชุมชี้แจงเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ร่วมกับคณะอาจารย์ และนักเรียน  นักศึกษาแกนนำ จำนวน 24 คน (2) กิจกรรมที่ 2 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้แก่              นักเรียน นักศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษา              ผดุงประชายะลา จำนวน 140 คน และครู อาจารย์ บุคลากร จำนวน 24 คน รวมเป็น 164  คน ระยะเวลา 1 วัน (3) กิจกรรมที่ 3 การพัฒนาศักยภาพแกนนำนักเรียน ดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง เช่น - การจัดรายการเสียงตามสาย - การพูดสุนทรพจน์หน้าเสาธง - การจัดตั้งชมรมห่างไกลยาเสพติด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการค่ายอบรมเชิงปฏิบัติการป้องกันภัยยาเสพติด วิทยาลัยอาชีวศึกษาผดุงประชายะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61 – L7452 – 2 – 09

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวอัสมา จินดารัตน์ เลขานุการองค์การนักวิชาชีพในอนาคตแห่งประเทศไทย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด