โครงการตรวจเฝ้าระวังสารสเตียรอยด์ ในยาสมุนไพร
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการตรวจเฝ้าระวังสารสเตียรอยด์ ในยาสมุนไพร ”
ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลละงู
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง
กันยายน 2562
ชื่อโครงการ โครงการตรวจเฝ้าระวังสารสเตียรอยด์ ในยาสมุนไพร
ที่อยู่ ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 2562 – L8010 – 1 - 3 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการตรวจเฝ้าระวังสารสเตียรอยด์ ในยาสมุนไพร จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการตรวจเฝ้าระวังสารสเตียรอยด์ ในยาสมุนไพร
บทคัดย่อ
สารสเตียรอยด์เป็นสารประเภทฮอร์โมน มีประโยชน์ในการบรรเทาการอักเสบ ใช้เป็นยากดภูมิคุ้มกัน และใช้ในผู้ที่ขาดฮอร์โมนประเภทนี้ สามารถใช้รักษาโรคได้หลายชนิด เช่น โรคเอส แอล อี (โรคพุ่มพวง) โรคผิวหนังที่เกิดจากการแพ้ โรคหืด เป็นต้น แต่เมื่อนำสาร
สเตียรอยด์มาใช้เป็นยา จะต้องใช้ตามความจำเป็นเท่านั้น มิฉะนั้นจะเกิดอันตราย ยิ่งถ้าได้รับสเตียรอยด์เป็นเวลานานหรือในขนาดสูงมากจะยิ่งเป็นอันตรายมากขึ้น อันตรายที่จะเกิดขึ้นนั้น ได้แก่ การกดภูมิคุ้มกันของร่างกาย ความดันโลหิตสูง เพิ่มน้ำตาลในเลือด
กระดูกพรุน ต้อหิน ต้อกระจก เกิดแผลในกระเพาะอาหาร ผิวบาง หน้ากลมเป็นวงพระจันทร์ หลังเป็นหนอก เป็นต้น ซึ่งเมื่อหยุดสเตียรอยด์กระทันหันจะเกิดอาการขาดสเตียรอยด์ ความดันโลหิตลดต่ำ น้ำตาลในเลือดตกลง ตามมาด้วยการเป็นลมหมดสติ ทั้งนี้มักพบว่า มีผู้ป่วยโรคเรื้อรังนำยาสมุนไพรที่มีการปลอมปนสารเสตียรอยด์มาใช้ เนื่องจากยาสเตียรอยด์เป็นยาที่มีฤทธิ์กดการอักเสบ มีผลทำให้ผู้ที่ได้รับยาสเตียรอยด์อาจเห็นผลในการบรรเทาอาการได้อย่างรวดเร็ว รู้สึกพึงพอใจ จึงทำให้อาจละเลยการรักษาที่สาเหตุของโรคโดยตรง และมีความเสี่ยงต่อการเกิดอาการไม่พึงประสงค์ของยาสเตียรอยด์ก็ยิ่งเพิ่มมากขึ้น เพื่อความปลอดภัยของประชาชน ฝ่ายเภสัชกรรม โรงพยาบาลละงูจึงได้จัดทำโครงการนี้ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริม ป้องกันและเฝ้าระวังการใช้สารสเตียรอยด์ในยาสมุนไพรของประชาชนในเขตตำบลกำแพง และจัดอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการใช้ชุดทดสอบสเตียรอยด์ และอันตรายของสารสเตียรอยด์ในยาสมุนไพร ให้กับแกนนำอาสาสมัครสาธารณสุขและประชาชนทั่วไป จำนวน 60 คน จาก 12 หมู่บ้าน เพื่อให้สามารถตรวจสอบเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สมุนไพร โดยใช้ชุดทดสอบสารสเตียรอยด์ตรวจผลิตภัณฑ์ที่สงสัย และสำรวจข้อมูลการใช้ การจำหน่ายผลิตภัณฑ์สมุนไพรในพื้นที่ ร่วมกับคณะทำงาน
ผลการดำเนินงาน สรุปข้อมูลจากการสำรวจเพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้ผลิตภัณฑ์สมุนไพรและยาทางเลือก พบว่า ประชาชนในพื้นที่ตำบลกำแพง กว่าร้อยละ 50 ยังไม่รู้จักและไม่ทราบถึงอันตรายของสารสเตียรอยด์ กลุ่มตัวอย่าง มีการใช้ยาแผนปัจจุบันร่วมกับยาแผนโบราณร้อยละ 10.7 และร้อยละ 21.53 มีความเห็นว่า การกินยาชุดเมื่อมีอาการไม่สบาย เช่น เกิดการอักเสบเป็นไข้ ปวดเมื่อย ช่วยให้หายจากโรคโดยเร็วขึ้น จากการตรวจตัวอย่างทั้งหมด 22 ตัวอย่าง ทั้งหมดเป็นผลิตภัณฑ์ที่คนในหมู่บ้านซื้อมาใช้เอง มีทั้งผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่ผลิตในประเทศไทย และที่ผลิตจากต่างประเทศ จากการสำรวจร้านค้าในหมู้บ้านไม่พบว่ามีการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสมุนไพรกลุ่มเสี่ยงในร้านขายของชำ
คณะทำงานสรุปข้อมูลและจัดทำสื่อเพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ในเขตพื้นที่ตำบลกำแพง เพื่อให้ประชาชนได้รับทราบว่ามีผลิตภัณฑ์สมุนไพรชนิดใดที่ตรวจพบสารสเตียรอยด์ปลอมปน โดยมีการระบุวิธีการตรวจสอบข้อมูลผลิตภัณฑ์สมุนไพรเบื้องต้น และจัดให้มีชุดทดสอบสารสเตียรอยด์เืพ่อตรวจสอบผลิตภัณฑ์สมุนไพรในหมู่บ้าน ทั้ง 12 หมู่บ้าน คณะทำงานได้ประสานงานกับทีมเยี่ยมบ้านผู้ป่วยโรคเรื้องรังโรงพยาบาลละงู เพื่อให้มีการสำรวจข้อมูลการใช้ผลิตภัณฑ์ยาสมุนไพรในผู้ป่วยกลุ่มดังกล่าวต่อไป
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สารสเตียรอยด์เป็นสารประเภทฮอร์โมน มีประโยชน์ในการบรรเทาการอักเสบ ใช้เป็นยากดภูมิคุ้มกัน และใช้ในผู้ที่ขาดฮอร์โมนประเภทนี้ สามารถใช้รักษาโรคได้หลายชนิด เช่น โรคเอส แอล อี (โรคพุ่มพวง) โรคผิวหนังที่เกิดจากการแพ้ โรคหืด เป็นต้น แต่เมื่อนำสาร สเตียรอยด์มาใช้เป็นยา จะต้องใช้ตามความจำเป็นเท่านั้น มิฉะนั้นจะเกิดอันตราย ยิ่งถ้าได้รับสเตียรอยด์เป็นเวลานานหรือในขนาดสูงมากจะยิ่งเป็นอันตรายมากขึ้น อันตรายที่จะเกิดขึ้นนั้น ได้แก่ การกดภูมิคุ้มกันของร่างกาย ความดันโลหิตสูง เพิ่มน้ำตาลในเลือด กระดูกพรุน ต้อหิน ต้อกระจก เกิดแผลในกระเพาะอาหาร ผิวบาง หน้ากลมเป็นวงพระจันทร์ หลังเป็นหนอก เป็นต้น ซึ่งเมื่อหยุดสเตียรอยด์กระทันหันจะเกิดอาการขาดสเตียรอยด์ ความดันโลหิตลดต่ำ น้ำตาลในเลือดตกลง ตามมาด้วยการเป็นลมหมดสติ
จากการดำเนินงานของโรงพยาบาลละงู ในปีงบประมาณ 2560-2561 พบว่ามียาสเตียรอยด์ ปนปลอมในยาชุด ยาลูกกลอน ยาสมุนไพร ยาต้ม ยาหม้อ ยาพระ รวมทั้งยาที่อวดอ้างสรรพคุณว่ารักษาได้สารพัดโรค มากกว่าร้อยละ 40 จากตัวอย่างยาสมุนไพรทั้งหมด 60 ตัวอย่างจากหลายพื้นที่ของอำเภอละงู ทั้งนี้มักพบว่ามีผู้ป่วยโรคเรื้อรังนำยาสมุนไพรที่มีการปลอมปนสารเสตียรอยด์มาใช้ เนื่องจากยาสเตียรอยด์เป็นยาที่มีฤทธิ์กดการอักเสบ มีผลทำให้ผู้ที่ได้รับยาสเตียรอยด์อาจเห็นผลในการบรรเทาอาการได้อย่างรวดเร็ว รู้สึกพึงพอใจ จึงทำให้อาจละเลยการรักษาที่สาเหตุของโรคโดยตรง หากมีการใช้ต่อเนื่องเป็นเวลานานมากขึ้นเท่าใด อาการไม่พึงประสงค์ของยาสเตียรอยด์ก็ยิ่งเพิ่มมากขึ้น พร้อมกับความรุนแรงของโรคที่มากขึ้นเรื่อยๆ
เพื่อความปลอดภัยของประชาชน โรงพยาบาลละงูจึงได้จัดทำโครงการตรวจเฝ้าระวังสารสเตียรอยด์ในยาสมุนไพรและ ยาแผนโบราณ ในเขตพื้นที่ตำบลกำแพง โดยมีการประชาสัมพันธ์ข่าวสาร การจัดอบรมให้ความรู้แก่เจ้าหน้าที่ อาสาสมัครสาธารณสุขและประชาชนในพื้นที่และจัดกิจกรรมตรวจสารสเตียรอยด์ในยาสมุนไพร
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1 เพื่อส่งเสริม ป้องกันและเฝ้าระวังการใช้สารสเตียรอยด์ในยาสมุนไพรของประชาชนในเขตตำบลกำแพง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 1 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการใช้ชุดทดสอบสเตียรอยด์ และอันตรายของสารสเตียรอยด์ในยาสมุนไพร ให้กับแกนนำอาสาสมัครสาธารณสุขและประชาชนทั่วไป
- กิจกรรมที่ 2 จัดทำป้ายไวนิลรณรงค์/ประชาสัมพันธ์ ให้ประชาชนทั่วไปตระหนักถึงอันตรายของสารสเตียรอยด์ที่ปลอมปนในยาสมุนไพร
- กิจกรรมที่ 3 ตรวจหาสารสเตียรอยด์ในยาสมุนไพรในเขตพื้นที่ตำบลกำแพง 12 หมู่บ้าน
- กิจกรรมที่ 4 รายงานผลโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
65
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
แกนนำอาสาสมัครสาธารณสุขและประชาชนที่เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ และเข้าใจถึงอันตรายของการใช้ยาสมุนไพรที่มีการปลอมปนสารสเตียรอยด์
มีการตรวจ/เฝ้าระวังความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ยาสมุนไพรที่นำมาใช้ในพื้นที่ตำบลกำแพงโดย อสม. และเผยแพร่ข้อมูลให้ประชาชนในพื้นที่รับทราบ
มีฐานข้อมูลยาสมุนไพรที่มีการใช้ในพื้นที่ตำบลกำแพงและข้อมูลผลการตรวจความปลอดภัยของยาสมุนไพร
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมที่ 2 จัดทำป้ายไวนิลรณรงค์/ประชาสัมพันธ์ ให้ประชาชนทั่วไปตระหนักถึงอันตรายของสารสเตียรอยด์ที่ปลอมปนในยาสมุนไพร
วันที่ 1 กรกฎาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
รายละเอียดกิจกรรม
จัดทำป้ายไวนิลรณรงค์/ประชาสัมพันธ์ ให้ประชาชนทั่วไปตระหนักถึงอันตรายของสารสเตียรอยด์ที่ปลอมปนในยาสมุนไพร
ติดป้ายรณรงค์/ประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับอันตรายของสารสเตียรอยด์ที่ปลอมปนในยาสมุนไพร หมู่บ้านละ 2 ชุด จำนวน 12 หมู่บ้าน
เป้าหมาย
- ประชาชนทั่วไปในชุมชน จำนวน 12 หมู่บ้าน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ติดตั้งป้ายประชาสัมพันธ์เรื่องอันตรายของสารสเตียรอยด์ที่ปลอมปนในยาสมุนไพร จำนวน 12 หมู่บ้านๆ ละ 2 ชุดในบริเวณที่ประชาชนทั่วไปสามารถเข้าถึงได้
12
0
2. กิจกรรมที่ 1 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการใช้ชุดทดสอบสเตียรอยด์ และอันตรายของสารสเตียรอยด์ในยาสมุนไพร ให้กับแกนนำอาสาสมัครสาธารณสุขและประชาชนทั่วไป
วันที่ 10 กรกฎาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
รายละเอียดกิจกรรม
ให้ความรู้เกี่ยวกับสารสเตียรอยด์ในยาสมุนไพร และอันตรายของสารสเตียรอยด์ที่ปลอมปนในยาสมุนไพร
สาธิต และฝึกปฏิบัติการใช้ชุดทดสอบ เพื่อตรวจหาสารสเตียรอยด์
เป้าหมาย
- แกนนำอาสาสมัครสาธารณสุขประชาชนทั่วไปในชุมชน จำนวน 60 คน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้เข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการ 100% จากกลุ่มเป้าหมายที่วางไว้ มีความสนใจที่จะเรียนรู้ปัญหาสารสเตียรอยด์ที่ปลอมปนในยาสมุนไพร และซักถามถึงผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่ตนใช้อยู่ว่ามีอันตรายหรือไม่ จากการสาธิตการใช้ชุดทดสอบตรวจหาสารสเตียรอยด์ ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถเรียนรู้การใช้ชุดทดสอบได้ คณะทำงานสาธิตการค้นข้อมูลความปลอดภัยของยาสมุนไพร โดยใช้โทรศัพท์แบบสมาร์ทโฟน จึงได้แนะนำวิธีการสืบค้นข้อมูลให้ตัวแทนของแต่ละหมู่บ้านได้เรียนรู
60
0
3. กิจกรรมที่ 3 ตรวจหาสารสเตียรอยด์ในยาสมุนไพรในเขตพื้นที่ตำบลกำแพง 12 หมู่บ้าน
วันที่ 24 กรกฎาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
รายละเอียดกิจกรรม
เจ้าหน้าที่ร่วมกับอาสาสมัครสาธารณสุขและประชาชนในพื้นที่ ลงพื้นที่ตามร้านขายของชำหรือแหล่งจำหน่ายยาสมุนไพรในหมู่บ้าน และบ้านเรือนของผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่นำยาสมุนไพรมาใช้ เพื่อทดสอบหาสารเสตียรอยด์
ให้คำแนะนำแก่ร้านค้าในชุมชนเกี่ยวกับอันตรายของสารเสตียรอยด์
จัดทำฐานข้อมูลผลการตรวจวิเคราะห์สารเสตียรอยด์ในยาสมุนไพร เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้กับประชาชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หมู่บ้านละ 1 ชุด
ติดตามผลตามร้านค้าในชุมชนและกลุ่มผู้ป่วยเรื้อรังที่นำยาสมุนไพรมาใช้
เป้าหมาย
ร้านค้าในชุมชนในเขตตำบลกำแพง จำนวน 150 ร้าน
กลุ่มผู้ป่วยเรื้อรัง หมู่บ้านๆละ 10 คน จำนวน 12 หมู่บ้าน จำนวน 120 คน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เจ้าหน้าที่ร่วมกับอาสาสมัครสาธารณสุขและประชาชนในพื้นที่ ลงพื้นที่ทั้ง 12 หมู่บ้าน เพื่อสำรวจตามร้านขายของชำหรือแหล่งจำหน่ายยาสมุนไพร/ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่อาจมีการปลอมปนสารสเตียรอยด์ในหมู่บ้าน และนำยาสมุนไพรหรือผลิตภัณฑ์ที่ต้องสงสัยที่มีการใช้ในชุมชนเพื่อทดสอบหาสารสเตียรอยด์
ร้านค้าในชุมชนทุกหมู่บ้าน ได้รับคำแนะนำเกี่ยวกับอันตรายของการใช้ผลิตภัณฑ์ที่ปลอมปนสารสเตียรอยด์ในเขตพื้นที่ตำบลกำแพงทั้ง 12 หมู่บ้าน ผลการดำเนินงาน ไม่พบว่ามีการจำหน่ายยาหรือผลิตภัณฑ์กลุ่มดังกล่าว แต่พบการจำหน่ายยาอันตรายหลายชนิด เป็นสิ่งที่ต้องหาแนวทางในการจัดการในขั้นต่อไป
มีฐานข้อมูลผลการตรวจวิเคราะห์สารสเตียรอยด์ในยาสมุนไพร แสดงข้อมูลรายละเอียดตัวอย่างและภาพถ่ายของผลิตภัณฑ์ ที่ได้รับการตรวจสอบด้วยชุดทดสอบสารสเตียรอยด์ เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้กับประชาชนในพื้นที่ได้รับทราบ หมู่บ้านละ 1 แห่ง และจัดทำข้อมูลในรูปแบบสื่อออนไลน์เพื่อให้คนในชุมชนเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากข้อมูลได้อย่างทั่วถึงมากยิ่งขึ้น
270
0
4. กิจกรรมที่ 4 รายงานผลโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้
วันที่ 30 กันยายน 2562กิจกรรมที่ทำ
รายละเอียดกิจกรรม
รายงานผลและนำเสนอโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จำนวน 2 ครั้ง
จัดทำรายงานผลโครงการเสนอกองทุนตำบลอย่างน้อย 2 เล่ม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีรูปเล่มรายงานฉบับสมบูรณ์
5
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
กิจกรรมที่ 1 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการใช้ชุดทดสอบสเตียรอยด์ และอันตรายของสารสเตียรอยด์ในยาสมุนไพร ให้กับแกนนำอาสาสมัครสาธารณสุขและประชาชนทั่วไป
ผู้เข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการ 100% จากกลุ่มเป้าหมายที่วางไว้ มีความสนใจที่จะเรียนรู้ปัญหาสารสเตียรอยด์ที่ปลอมปนในยาสมุนไพร และซักถามถึงผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่ตนใช้อยู่ว่ามีอันตรายหรือไม่ จากการสาธิตการใช้ชุดทดสอบตรวจหาสารสเตียรอยด์ ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถเรียนรู้การใช้ชุดทดสอบได้ คณะทำงานสาธิตการค้นข้อมูลความปลอดภัยของยาสมุนไพร โดยใช้โทรศัพท์แบบสมาร์ทโฟน จึงได้แนะนำวิธีการสืบค้นข้อมูลให้ตัวแทนของแต่ละหมู่บ้านได้เรียนรู้่
กิจกรรมที่ 2 จัดทำป้ายไวนิลรณรงค์/ประชาสัมพันธ์ ให้ประชาชนทั่วไปตระหนักถึงอันตรายของสารสเตียรอยด์ที่ปลอมปนในยาสมุนไพร
ติดตั้งป้ายประชาสัมพันธ์เรื่องอันตรายของสารสเตียรอยด์ที่ปลอมปนในยาสมุนไพร จำนวน 12 หมู่บ้านๆ ละ 2 ชุดในบริเวณที่ประชาชนทั่วไปสามารถเข้าถึงได้
กิจกรรมที่ 3 ตรวจหาสารสเตียรอยด์ในยาสมุนไพรในเขตพื้นที่ตำบลกำแพง 12 หมู่บ้าน
เจ้าหน้าที่ร่วมกับอาสาสมัครสาธารณสุขและประชาชนในพื้นที่ ลงพื้นที่ทั้ง 12 หมู่บ้าน เพื่อสำรวจตามร้านขายของชำหรือแหล่งจำหน่ายยาสมุนไพร/ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่อาจมีการปลอมปนสารสเตียรอยด์ในหมู่บ้าน และนำยาสมุนไพรหรือผลิตภัณฑ์ที่ต้องสงสัยที่มีการใช้ในชุมชนเพื่อทดสอบหาสารสเตียรอยด์
ร้านค้าในชุมชนทุกหมู่บ้าน ได้รับคำแนะนำเกี่ยวกับอันตรายของการใช้ผลิตภัณฑ์ที่ปลอมปนสารสเตียรอยด์ในเขตพื้นที่ตำบลกำแพงทั้ง 12 หมู่บ้าน ผลการดำเนินงาน ไม่พบว่ามีการจำหน่ายยาหรือผลิตภัณฑ์กลุ่มดังกล่าว แต่พบการจำหน่ายยาอันตรายหลายชนิด เป็นสิ่งที่ต้องหาแนวทางในการจัดการในขั้นต่อไป
มีฐานข้อมูลผลการตรวจวิเคราะห์สารสเตียรอยด์ในยาสมุนไพร แสดงข้อมูลรายละเอียดตัวอย่างและภาพถ่ายของผลิตภัณฑ์ ที่ได้รับการตรวจสอบด้วยชุดทดสอบสารสเตียรอยด์ เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้กับประชาชนในพื้นที่ได้รับทราบ หมู่บ้านละ 1 แห่ง และจัดทำข้อมูลในรูปแบบสื่อออนไลน์เพื่อให้คนในชุมชนเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากข้อมูลได้อย่างทั่วถึงมากยิ่งขึ้น
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
ข้อที่ 1 เพื่อส่งเสริม ป้องกันและเฝ้าระวังการใช้สารสเตียรอยด์ในยาสมุนไพรของประชาชนในเขตตำบลกำแพง
ตัวชี้วัด : - แกนนำอาสาสมัครสาธารณสุขและประชาชนที่เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 80 มีความรู้ถึงอันตรายของการใช้ยาสมุนไพรที่มีการปลอมปนสารสเตียรอยด์
- ร้านค้าในชุมชนร้อยละ 100 ได้รับการตรวจหาสารสเตียรอยด์ในยาสมุนไพร
- กลุ่มผู้ป่วยเรื้อรัง ร้อยละ 100 ได้รับการตรวจหาสารสเตียรอยด์ในยาสมุนไพร
- การตรวจหาสารเสตียรอยด์ ในร้านค้าที่จำหน่ายยาสมุนไพรและกลุ่มผู้ป่วยเรื้อรัง ไม่พบสารเสตียรอยด์ อย่างน้อยร้อยละ 80
80.00
100.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
65
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
65
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
สารสเตียรอยด์เป็นสารประเภทฮอร์โมน มีประโยชน์ในการบรรเทาการอักเสบ ใช้เป็นยากดภูมิคุ้มกัน และใช้ในผู้ที่ขาดฮอร์โมนประเภทนี้ สามารถใช้รักษาโรคได้หลายชนิด เช่น โรคเอส แอล อี (โรคพุ่มพวง) โรคผิวหนังที่เกิดจากการแพ้ โรคหืด เป็นต้น แต่เมื่อนำสาร
สเตียรอยด์มาใช้เป็นยา จะต้องใช้ตามความจำเป็นเท่านั้น มิฉะนั้นจะเกิดอันตราย ยิ่งถ้าได้รับสเตียรอยด์เป็นเวลานานหรือในขนาดสูงมากจะยิ่งเป็นอันตรายมากขึ้น อันตรายที่จะเกิดขึ้นนั้น ได้แก่ การกดภูมิคุ้มกันของร่างกาย ความดันโลหิตสูง เพิ่มน้ำตาลในเลือด
กระดูกพรุน ต้อหิน ต้อกระจก เกิดแผลในกระเพาะอาหาร ผิวบาง หน้ากลมเป็นวงพระจันทร์ หลังเป็นหนอก เป็นต้น ซึ่งเมื่อหยุดสเตียรอยด์กระทันหันจะเกิดอาการขาดสเตียรอยด์ ความดันโลหิตลดต่ำ น้ำตาลในเลือดตกลง ตามมาด้วยการเป็นลมหมดสติ ทั้งนี้มักพบว่า มีผู้ป่วยโรคเรื้อรังนำยาสมุนไพรที่มีการปลอมปนสารเสตียรอยด์มาใช้ เนื่องจากยาสเตียรอยด์เป็นยาที่มีฤทธิ์กดการอักเสบ มีผลทำให้ผู้ที่ได้รับยาสเตียรอยด์อาจเห็นผลในการบรรเทาอาการได้อย่างรวดเร็ว รู้สึกพึงพอใจ จึงทำให้อาจละเลยการรักษาที่สาเหตุของโรคโดยตรง และมีความเสี่ยงต่อการเกิดอาการไม่พึงประสงค์ของยาสเตียรอยด์ก็ยิ่งเพิ่มมากขึ้น เพื่อความปลอดภัยของประชาชน ฝ่ายเภสัชกรรม โรงพยาบาลละงูจึงได้จัดทำโครงการนี้ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริม ป้องกันและเฝ้าระวังการใช้สารสเตียรอยด์ในยาสมุนไพรของประชาชนในเขตตำบลกำแพง และจัดอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการใช้ชุดทดสอบสเตียรอยด์ และอันตรายของสารสเตียรอยด์ในยาสมุนไพร ให้กับแกนนำอาสาสมัครสาธารณสุขและประชาชนทั่วไป จำนวน 60 คน จาก 12 หมู่บ้าน เพื่อให้สามารถตรวจสอบเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สมุนไพร โดยใช้ชุดทดสอบสารสเตียรอยด์ตรวจผลิตภัณฑ์ที่สงสัย และสำรวจข้อมูลการใช้ การจำหน่ายผลิตภัณฑ์สมุนไพรในพื้นที่ ร่วมกับคณะทำงาน
ผลการดำเนินงาน สรุปข้อมูลจากการสำรวจเพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้ผลิตภัณฑ์สมุนไพรและยาทางเลือก พบว่า ประชาชนในพื้นที่ตำบลกำแพง กว่าร้อยละ 50 ยังไม่รู้จักและไม่ทราบถึงอันตรายของสารสเตียรอยด์ กลุ่มตัวอย่าง มีการใช้ยาแผนปัจจุบันร่วมกับยาแผนโบราณร้อยละ 10.7 และร้อยละ 21.53 มีความเห็นว่า การกินยาชุดเมื่อมีอาการไม่สบาย เช่น เกิดการอักเสบเป็นไข้ ปวดเมื่อย ช่วยให้หายจากโรคโดยเร็วขึ้น จากการตรวจตัวอย่างทั้งหมด 22 ตัวอย่าง ทั้งหมดเป็นผลิตภัณฑ์ที่คนในหมู่บ้านซื้อมาใช้เอง มีทั้งผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่ผลิตในประเทศไทย และที่ผลิตจากต่างประเทศ จากการสำรวจร้านค้าในหมู้บ้านไม่พบว่ามีการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสมุนไพรกลุ่มเสี่ยงในร้านขายของชำ
คณะทำงานสรุปข้อมูลและจัดทำสื่อเพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ในเขตพื้นที่ตำบลกำแพง เพื่อให้ประชาชนได้รับทราบว่ามีผลิตภัณฑ์สมุนไพรชนิดใดที่ตรวจพบสารสเตียรอยด์ปลอมปน โดยมีการระบุวิธีการตรวจสอบข้อมูลผลิตภัณฑ์สมุนไพรเบื้องต้น และจัดให้มีชุดทดสอบสารสเตียรอยด์เืพ่อตรวจสอบผลิตภัณฑ์สมุนไพรในหมู่บ้าน ทั้ง 12 หมู่บ้าน คณะทำงานได้ประสานงานกับทีมเยี่ยมบ้านผู้ป่วยโรคเรื้องรังโรงพยาบาลละงู เพื่อให้มีการสำรวจข้อมูลการใช้ผลิตภัณฑ์ยาสมุนไพรในผู้ป่วยกลุ่มดังกล่าวต่อไป
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
1.แบบฟอร์มสำรวจข้อมูลมีความซับซ้อน ข้อมูลที่ได้จากการสำรวจในพื้นที่บางส่วนไม่สมบูรณ์
แนวทางแก้ไข ทบทวนความเข้าใจกับผู้สำรวจข้อมูล และเชิญผู้ร่วมดำเนินโครงการมาร่วมออกแบบฟอร์มสำรวจข้อมูลในครั้งต่อไป
2.ช่วงเวลาในการดำเนินกิจกรรมโครงการ เป็นช่วงที่มีการระบาดของโรค ที่มีการใช้ยากลุ่มเสี่ยงที่จะมีการปลอมปนสารสเตียรอยด์ลดลง ทำให้มีผลิตภัณฑ์ที่ส่งมาตรวจจำนวนไม่มากเท่าที่คาดการณ์ไว้
แนวทางแก้ไข แนะนำแนวทางในการดำเนินงาน การตรวจเฝ้าระวังอย่างต่อเนื่อง การให้ข้อมูลข้อเท็จจริงกับชุมชนในกรณีที่มีการระบาดของโรคในครั้งต่อไป
3.ระยะเวลาในการดำเนินโครงการและการสำรวจข้อมูลสั้นเกินไป
แนวทางแก้ไข เพิ่มการสำรวจข้อมูล ในการเยี่ยมบ้านผู้ป่วยโรคเรื้อรังในเขตรับผิดชองของโรงพยาบาลละงู
4.แหล่งกระจายยาหรือผลิตภัณฑ์ที่เสี่ยงต่อการปลอมปนสารสเตียรอยด์ มาจากต่างประเทศทำให้ยากต่อการสืบค้นไปยังแหล่งผลิต
แนวทางแก้ไข ประสานงานไปยังสาธารณสุขจังหวัด เพื่อร่วมหาแนวทางในการแก้ไขปัญหากับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
5.จากการสำรวจข้อมูลพบว่า แหล่งกระจายผลิตภัณฑ์ไม่ได้อยู่ตามร้านค้าในชุมชน แต่มาจากการที่คนในชุมชนซท้อมาใช้เองและขายต่อให้คนในหมู่บ้านที่มีความเจ็บป่วยคล้ายคลึงกัน
แนวทางแก้ไข รายงานข้อมูลให้กับผู้นำชุมชน เพื่อร่วมกันหาแนวทางในการจัดการและกำหนดมาตรการแก้ไขปัญหาร่วมกันในชุมชนอย่างเหมาะสม
จากข้อมูลที่ได้รับทราบจากแกนนำ อสม. ที่ดำเนินกิจกรรมโครงการตรวจสารสเตียรอยด์ร่วมกัน พบว่าหลังจากการอบรมความรู้ให้กับแกนนำ อสม.และประชาชน ให้ได้ทราบถึงสถานการณ์และ
อันตรายของการใช้ผลิตภัณฑ์ที่มีความปลอมปนสารสเตียรอยด์ ความรับรู้และความตระหนัก
เกี่ยวกับอันตรายของสารสเตียรอยด์ของคนในชุมชนเพิ่มมากขึ้น ผลการลงพื้นที่เพื่อสำรวจข้อมูล
พบว่ามีการใช้ผลิตภัณฑ์เหล่านี้ลดลงอย่างมาก แลคนในชุมชนมีการปฏิเสธ ไม่ซื้อผลิตภัณฑ์ที่มี
พ่อค้ามาเร่ขายในหมู่บ้านน้อยลง มีการตักเตือนคนในหมู่บ้านไม่ให้ใช้ยาหรือผลิตภัณฑ์ที่ไม่มี
ข้อมูลความปลอดภัย ทางคณะทำงานได้ทบทวนความรู้ สาธิตการใช้ชุดทดสอบเพื่อตรวจหา
สารสเตียรอยด์และสาธิตการสืบค้นข้อมูลความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ที่อาจพบในชุมชน
หมู่บ้านละ 2 กล่อง สามารถตรวจได้ 40 ตัวอย่าง และให้บันทึกการดำเนินงานลงในแบบฟอร์ม
สำรวจข้อมูลหมู่บ้านละ 10 ชุด
คณะทำงานมีความคาดหวังว่า การจัดทำโครงการตรวจเฝ้าระวังสารสเตียรอยด์ในยาสมุนไพร
ในเขตพื้นที่ตำบลกำแพงทั้ง 12 หมู่บ้าน จะส่งผลให้ประชาชนในพื้นที่เกิดความเข้าใจ
ความตระหนักรู้เกี่ยวกับอันตรายของการใช้ยาหรือผลิตภัณฑ์ที่ไม่ปลอดภัย และสามารถตรวจสอบ
ความปลอดภัยก่อนที่จะนำมาใช้ มีการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับสิ่งอันตรายเหล่าวนี้ให้คนในชุมชน
รับทราบได้ และมีความเห็นว่าควนสนับสนุนให้มีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง โดยให้แกนนำ อสม.
และประชาชนในชุมชนเป็นผู้ดำเนินกิจกรรม เพื่อขยายการดำเนินงานและเผยแพร่ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ไปยังตำบลอื่นๆในอำเภอละงู ต่อไป
โครงการตรวจเฝ้าระวังสารสเตียรอยด์ ในยาสมุนไพร จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 2562 – L8010 – 1 - 3
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( โรงพยาบาลละงู )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการตรวจเฝ้าระวังสารสเตียรอยด์ ในยาสมุนไพร ”
ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลละงู
กันยายน 2562
ที่อยู่ ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 2562 – L8010 – 1 - 3 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการตรวจเฝ้าระวังสารสเตียรอยด์ ในยาสมุนไพร จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการตรวจเฝ้าระวังสารสเตียรอยด์ ในยาสมุนไพร
บทคัดย่อ
สารสเตียรอยด์เป็นสารประเภทฮอร์โมน มีประโยชน์ในการบรรเทาการอักเสบ ใช้เป็นยากดภูมิคุ้มกัน และใช้ในผู้ที่ขาดฮอร์โมนประเภทนี้ สามารถใช้รักษาโรคได้หลายชนิด เช่น โรคเอส แอล อี (โรคพุ่มพวง) โรคผิวหนังที่เกิดจากการแพ้ โรคหืด เป็นต้น แต่เมื่อนำสาร
สเตียรอยด์มาใช้เป็นยา จะต้องใช้ตามความจำเป็นเท่านั้น มิฉะนั้นจะเกิดอันตราย ยิ่งถ้าได้รับสเตียรอยด์เป็นเวลานานหรือในขนาดสูงมากจะยิ่งเป็นอันตรายมากขึ้น อันตรายที่จะเกิดขึ้นนั้น ได้แก่ การกดภูมิคุ้มกันของร่างกาย ความดันโลหิตสูง เพิ่มน้ำตาลในเลือด
กระดูกพรุน ต้อหิน ต้อกระจก เกิดแผลในกระเพาะอาหาร ผิวบาง หน้ากลมเป็นวงพระจันทร์ หลังเป็นหนอก เป็นต้น ซึ่งเมื่อหยุดสเตียรอยด์กระทันหันจะเกิดอาการขาดสเตียรอยด์ ความดันโลหิตลดต่ำ น้ำตาลในเลือดตกลง ตามมาด้วยการเป็นลมหมดสติ ทั้งนี้มักพบว่า มีผู้ป่วยโรคเรื้อรังนำยาสมุนไพรที่มีการปลอมปนสารเสตียรอยด์มาใช้ เนื่องจากยาสเตียรอยด์เป็นยาที่มีฤทธิ์กดการอักเสบ มีผลทำให้ผู้ที่ได้รับยาสเตียรอยด์อาจเห็นผลในการบรรเทาอาการได้อย่างรวดเร็ว รู้สึกพึงพอใจ จึงทำให้อาจละเลยการรักษาที่สาเหตุของโรคโดยตรง และมีความเสี่ยงต่อการเกิดอาการไม่พึงประสงค์ของยาสเตียรอยด์ก็ยิ่งเพิ่มมากขึ้น เพื่อความปลอดภัยของประชาชน ฝ่ายเภสัชกรรม โรงพยาบาลละงูจึงได้จัดทำโครงการนี้ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริม ป้องกันและเฝ้าระวังการใช้สารสเตียรอยด์ในยาสมุนไพรของประชาชนในเขตตำบลกำแพง และจัดอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการใช้ชุดทดสอบสเตียรอยด์ และอันตรายของสารสเตียรอยด์ในยาสมุนไพร ให้กับแกนนำอาสาสมัครสาธารณสุขและประชาชนทั่วไป จำนวน 60 คน จาก 12 หมู่บ้าน เพื่อให้สามารถตรวจสอบเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สมุนไพร โดยใช้ชุดทดสอบสารสเตียรอยด์ตรวจผลิตภัณฑ์ที่สงสัย และสำรวจข้อมูลการใช้ การจำหน่ายผลิตภัณฑ์สมุนไพรในพื้นที่ ร่วมกับคณะทำงาน
ผลการดำเนินงาน สรุปข้อมูลจากการสำรวจเพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้ผลิตภัณฑ์สมุนไพรและยาทางเลือก พบว่า ประชาชนในพื้นที่ตำบลกำแพง กว่าร้อยละ 50 ยังไม่รู้จักและไม่ทราบถึงอันตรายของสารสเตียรอยด์ กลุ่มตัวอย่าง มีการใช้ยาแผนปัจจุบันร่วมกับยาแผนโบราณร้อยละ 10.7 และร้อยละ 21.53 มีความเห็นว่า การกินยาชุดเมื่อมีอาการไม่สบาย เช่น เกิดการอักเสบเป็นไข้ ปวดเมื่อย ช่วยให้หายจากโรคโดยเร็วขึ้น จากการตรวจตัวอย่างทั้งหมด 22 ตัวอย่าง ทั้งหมดเป็นผลิตภัณฑ์ที่คนในหมู่บ้านซื้อมาใช้เอง มีทั้งผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่ผลิตในประเทศไทย และที่ผลิตจากต่างประเทศ จากการสำรวจร้านค้าในหมู้บ้านไม่พบว่ามีการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสมุนไพรกลุ่มเสี่ยงในร้านขายของชำ
คณะทำงานสรุปข้อมูลและจัดทำสื่อเพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ในเขตพื้นที่ตำบลกำแพง เพื่อให้ประชาชนได้รับทราบว่ามีผลิตภัณฑ์สมุนไพรชนิดใดที่ตรวจพบสารสเตียรอยด์ปลอมปน โดยมีการระบุวิธีการตรวจสอบข้อมูลผลิตภัณฑ์สมุนไพรเบื้องต้น และจัดให้มีชุดทดสอบสารสเตียรอยด์เืพ่อตรวจสอบผลิตภัณฑ์สมุนไพรในหมู่บ้าน ทั้ง 12 หมู่บ้าน คณะทำงานได้ประสานงานกับทีมเยี่ยมบ้านผู้ป่วยโรคเรื้องรังโรงพยาบาลละงู เพื่อให้มีการสำรวจข้อมูลการใช้ผลิตภัณฑ์ยาสมุนไพรในผู้ป่วยกลุ่มดังกล่าวต่อไป
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สารสเตียรอยด์เป็นสารประเภทฮอร์โมน มีประโยชน์ในการบรรเทาการอักเสบ ใช้เป็นยากดภูมิคุ้มกัน และใช้ในผู้ที่ขาดฮอร์โมนประเภทนี้ สามารถใช้รักษาโรคได้หลายชนิด เช่น โรคเอส แอล อี (โรคพุ่มพวง) โรคผิวหนังที่เกิดจากการแพ้ โรคหืด เป็นต้น แต่เมื่อนำสาร สเตียรอยด์มาใช้เป็นยา จะต้องใช้ตามความจำเป็นเท่านั้น มิฉะนั้นจะเกิดอันตราย ยิ่งถ้าได้รับสเตียรอยด์เป็นเวลานานหรือในขนาดสูงมากจะยิ่งเป็นอันตรายมากขึ้น อันตรายที่จะเกิดขึ้นนั้น ได้แก่ การกดภูมิคุ้มกันของร่างกาย ความดันโลหิตสูง เพิ่มน้ำตาลในเลือด กระดูกพรุน ต้อหิน ต้อกระจก เกิดแผลในกระเพาะอาหาร ผิวบาง หน้ากลมเป็นวงพระจันทร์ หลังเป็นหนอก เป็นต้น ซึ่งเมื่อหยุดสเตียรอยด์กระทันหันจะเกิดอาการขาดสเตียรอยด์ ความดันโลหิตลดต่ำ น้ำตาลในเลือดตกลง ตามมาด้วยการเป็นลมหมดสติ
จากการดำเนินงานของโรงพยาบาลละงู ในปีงบประมาณ 2560-2561 พบว่ามียาสเตียรอยด์ ปนปลอมในยาชุด ยาลูกกลอน ยาสมุนไพร ยาต้ม ยาหม้อ ยาพระ รวมทั้งยาที่อวดอ้างสรรพคุณว่ารักษาได้สารพัดโรค มากกว่าร้อยละ 40 จากตัวอย่างยาสมุนไพรทั้งหมด 60 ตัวอย่างจากหลายพื้นที่ของอำเภอละงู ทั้งนี้มักพบว่ามีผู้ป่วยโรคเรื้อรังนำยาสมุนไพรที่มีการปลอมปนสารเสตียรอยด์มาใช้ เนื่องจากยาสเตียรอยด์เป็นยาที่มีฤทธิ์กดการอักเสบ มีผลทำให้ผู้ที่ได้รับยาสเตียรอยด์อาจเห็นผลในการบรรเทาอาการได้อย่างรวดเร็ว รู้สึกพึงพอใจ จึงทำให้อาจละเลยการรักษาที่สาเหตุของโรคโดยตรง หากมีการใช้ต่อเนื่องเป็นเวลานานมากขึ้นเท่าใด อาการไม่พึงประสงค์ของยาสเตียรอยด์ก็ยิ่งเพิ่มมากขึ้น พร้อมกับความรุนแรงของโรคที่มากขึ้นเรื่อยๆ
เพื่อความปลอดภัยของประชาชน โรงพยาบาลละงูจึงได้จัดทำโครงการตรวจเฝ้าระวังสารสเตียรอยด์ในยาสมุนไพรและ ยาแผนโบราณ ในเขตพื้นที่ตำบลกำแพง โดยมีการประชาสัมพันธ์ข่าวสาร การจัดอบรมให้ความรู้แก่เจ้าหน้าที่ อาสาสมัครสาธารณสุขและประชาชนในพื้นที่และจัดกิจกรรมตรวจสารสเตียรอยด์ในยาสมุนไพร
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1 เพื่อส่งเสริม ป้องกันและเฝ้าระวังการใช้สารสเตียรอยด์ในยาสมุนไพรของประชาชนในเขตตำบลกำแพง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 1 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการใช้ชุดทดสอบสเตียรอยด์ และอันตรายของสารสเตียรอยด์ในยาสมุนไพร ให้กับแกนนำอาสาสมัครสาธารณสุขและประชาชนทั่วไป
- กิจกรรมที่ 2 จัดทำป้ายไวนิลรณรงค์/ประชาสัมพันธ์ ให้ประชาชนทั่วไปตระหนักถึงอันตรายของสารสเตียรอยด์ที่ปลอมปนในยาสมุนไพร
- กิจกรรมที่ 3 ตรวจหาสารสเตียรอยด์ในยาสมุนไพรในเขตพื้นที่ตำบลกำแพง 12 หมู่บ้าน
- กิจกรรมที่ 4 รายงานผลโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 65 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
แกนนำอาสาสมัครสาธารณสุขและประชาชนที่เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ และเข้าใจถึงอันตรายของการใช้ยาสมุนไพรที่มีการปลอมปนสารสเตียรอยด์
มีการตรวจ/เฝ้าระวังความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ยาสมุนไพรที่นำมาใช้ในพื้นที่ตำบลกำแพงโดย อสม. และเผยแพร่ข้อมูลให้ประชาชนในพื้นที่รับทราบ
มีฐานข้อมูลยาสมุนไพรที่มีการใช้ในพื้นที่ตำบลกำแพงและข้อมูลผลการตรวจความปลอดภัยของยาสมุนไพร
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมที่ 2 จัดทำป้ายไวนิลรณรงค์/ประชาสัมพันธ์ ให้ประชาชนทั่วไปตระหนักถึงอันตรายของสารสเตียรอยด์ที่ปลอมปนในยาสมุนไพร |
||
วันที่ 1 กรกฎาคม 2562กิจกรรมที่ทำรายละเอียดกิจกรรม
เป้าหมาย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นติดตั้งป้ายประชาสัมพันธ์เรื่องอันตรายของสารสเตียรอยด์ที่ปลอมปนในยาสมุนไพร จำนวน 12 หมู่บ้านๆ ละ 2 ชุดในบริเวณที่ประชาชนทั่วไปสามารถเข้าถึงได้
|
12 | 0 |
2. กิจกรรมที่ 1 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการใช้ชุดทดสอบสเตียรอยด์ และอันตรายของสารสเตียรอยด์ในยาสมุนไพร ให้กับแกนนำอาสาสมัครสาธารณสุขและประชาชนทั่วไป |
||
วันที่ 10 กรกฎาคม 2562กิจกรรมที่ทำรายละเอียดกิจกรรม
เป้าหมาย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้เข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการ 100% จากกลุ่มเป้าหมายที่วางไว้ มีความสนใจที่จะเรียนรู้ปัญหาสารสเตียรอยด์ที่ปลอมปนในยาสมุนไพร และซักถามถึงผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่ตนใช้อยู่ว่ามีอันตรายหรือไม่ จากการสาธิตการใช้ชุดทดสอบตรวจหาสารสเตียรอยด์ ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถเรียนรู้การใช้ชุดทดสอบได้ คณะทำงานสาธิตการค้นข้อมูลความปลอดภัยของยาสมุนไพร โดยใช้โทรศัพท์แบบสมาร์ทโฟน จึงได้แนะนำวิธีการสืบค้นข้อมูลให้ตัวแทนของแต่ละหมู่บ้านได้เรียนรู
|
60 | 0 |
3. กิจกรรมที่ 3 ตรวจหาสารสเตียรอยด์ในยาสมุนไพรในเขตพื้นที่ตำบลกำแพง 12 หมู่บ้าน |
||
วันที่ 24 กรกฎาคม 2562กิจกรรมที่ทำรายละเอียดกิจกรรม
เป้าหมาย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเจ้าหน้าที่ร่วมกับอาสาสมัครสาธารณสุขและประชาชนในพื้นที่ ลงพื้นที่ทั้ง 12 หมู่บ้าน เพื่อสำรวจตามร้านขายของชำหรือแหล่งจำหน่ายยาสมุนไพร/ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่อาจมีการปลอมปนสารสเตียรอยด์ในหมู่บ้าน และนำยาสมุนไพรหรือผลิตภัณฑ์ที่ต้องสงสัยที่มีการใช้ในชุมชนเพื่อทดสอบหาสารสเตียรอยด์ ร้านค้าในชุมชนทุกหมู่บ้าน ได้รับคำแนะนำเกี่ยวกับอันตรายของการใช้ผลิตภัณฑ์ที่ปลอมปนสารสเตียรอยด์ในเขตพื้นที่ตำบลกำแพงทั้ง 12 หมู่บ้าน ผลการดำเนินงาน ไม่พบว่ามีการจำหน่ายยาหรือผลิตภัณฑ์กลุ่มดังกล่าว แต่พบการจำหน่ายยาอันตรายหลายชนิด เป็นสิ่งที่ต้องหาแนวทางในการจัดการในขั้นต่อไป มีฐานข้อมูลผลการตรวจวิเคราะห์สารสเตียรอยด์ในยาสมุนไพร แสดงข้อมูลรายละเอียดตัวอย่างและภาพถ่ายของผลิตภัณฑ์ ที่ได้รับการตรวจสอบด้วยชุดทดสอบสารสเตียรอยด์ เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้กับประชาชนในพื้นที่ได้รับทราบ หมู่บ้านละ 1 แห่ง และจัดทำข้อมูลในรูปแบบสื่อออนไลน์เพื่อให้คนในชุมชนเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากข้อมูลได้อย่างทั่วถึงมากยิ่งขึ้น
|
270 | 0 |
4. กิจกรรมที่ 4 รายงานผลโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ |
||
วันที่ 30 กันยายน 2562กิจกรรมที่ทำรายละเอียดกิจกรรม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีรูปเล่มรายงานฉบับสมบูรณ์
|
5 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
กิจกรรมที่ 1 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการใช้ชุดทดสอบสเตียรอยด์ และอันตรายของสารสเตียรอยด์ในยาสมุนไพร ให้กับแกนนำอาสาสมัครสาธารณสุขและประชาชนทั่วไป
ผู้เข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการ 100% จากกลุ่มเป้าหมายที่วางไว้ มีความสนใจที่จะเรียนรู้ปัญหาสารสเตียรอยด์ที่ปลอมปนในยาสมุนไพร และซักถามถึงผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่ตนใช้อยู่ว่ามีอันตรายหรือไม่ จากการสาธิตการใช้ชุดทดสอบตรวจหาสารสเตียรอยด์ ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถเรียนรู้การใช้ชุดทดสอบได้ คณะทำงานสาธิตการค้นข้อมูลความปลอดภัยของยาสมุนไพร โดยใช้โทรศัพท์แบบสมาร์ทโฟน จึงได้แนะนำวิธีการสืบค้นข้อมูลให้ตัวแทนของแต่ละหมู่บ้านได้เรียนรู้่
กิจกรรมที่ 2 จัดทำป้ายไวนิลรณรงค์/ประชาสัมพันธ์ ให้ประชาชนทั่วไปตระหนักถึงอันตรายของสารสเตียรอยด์ที่ปลอมปนในยาสมุนไพร
ติดตั้งป้ายประชาสัมพันธ์เรื่องอันตรายของสารสเตียรอยด์ที่ปลอมปนในยาสมุนไพร จำนวน 12 หมู่บ้านๆ ละ 2 ชุดในบริเวณที่ประชาชนทั่วไปสามารถเข้าถึงได้
กิจกรรมที่ 3 ตรวจหาสารสเตียรอยด์ในยาสมุนไพรในเขตพื้นที่ตำบลกำแพง 12 หมู่บ้าน
เจ้าหน้าที่ร่วมกับอาสาสมัครสาธารณสุขและประชาชนในพื้นที่ ลงพื้นที่ทั้ง 12 หมู่บ้าน เพื่อสำรวจตามร้านขายของชำหรือแหล่งจำหน่ายยาสมุนไพร/ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่อาจมีการปลอมปนสารสเตียรอยด์ในหมู่บ้าน และนำยาสมุนไพรหรือผลิตภัณฑ์ที่ต้องสงสัยที่มีการใช้ในชุมชนเพื่อทดสอบหาสารสเตียรอยด์
ร้านค้าในชุมชนทุกหมู่บ้าน ได้รับคำแนะนำเกี่ยวกับอันตรายของการใช้ผลิตภัณฑ์ที่ปลอมปนสารสเตียรอยด์ในเขตพื้นที่ตำบลกำแพงทั้ง 12 หมู่บ้าน ผลการดำเนินงาน ไม่พบว่ามีการจำหน่ายยาหรือผลิตภัณฑ์กลุ่มดังกล่าว แต่พบการจำหน่ายยาอันตรายหลายชนิด เป็นสิ่งที่ต้องหาแนวทางในการจัดการในขั้นต่อไป
มีฐานข้อมูลผลการตรวจวิเคราะห์สารสเตียรอยด์ในยาสมุนไพร แสดงข้อมูลรายละเอียดตัวอย่างและภาพถ่ายของผลิตภัณฑ์ ที่ได้รับการตรวจสอบด้วยชุดทดสอบสารสเตียรอยด์ เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้กับประชาชนในพื้นที่ได้รับทราบ หมู่บ้านละ 1 แห่ง และจัดทำข้อมูลในรูปแบบสื่อออนไลน์เพื่อให้คนในชุมชนเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากข้อมูลได้อย่างทั่วถึงมากยิ่งขึ้น
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ข้อที่ 1 เพื่อส่งเสริม ป้องกันและเฝ้าระวังการใช้สารสเตียรอยด์ในยาสมุนไพรของประชาชนในเขตตำบลกำแพง ตัวชี้วัด : - แกนนำอาสาสมัครสาธารณสุขและประชาชนที่เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 80 มีความรู้ถึงอันตรายของการใช้ยาสมุนไพรที่มีการปลอมปนสารสเตียรอยด์ - ร้านค้าในชุมชนร้อยละ 100 ได้รับการตรวจหาสารสเตียรอยด์ในยาสมุนไพร - กลุ่มผู้ป่วยเรื้อรัง ร้อยละ 100 ได้รับการตรวจหาสารสเตียรอยด์ในยาสมุนไพร - การตรวจหาสารเสตียรอยด์ ในร้านค้าที่จำหน่ายยาสมุนไพรและกลุ่มผู้ป่วยเรื้อรัง ไม่พบสารเสตียรอยด์ อย่างน้อยร้อยละ 80 |
80.00 | 100.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 65 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 65 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
สารสเตียรอยด์เป็นสารประเภทฮอร์โมน มีประโยชน์ในการบรรเทาการอักเสบ ใช้เป็นยากดภูมิคุ้มกัน และใช้ในผู้ที่ขาดฮอร์โมนประเภทนี้ สามารถใช้รักษาโรคได้หลายชนิด เช่น โรคเอส แอล อี (โรคพุ่มพวง) โรคผิวหนังที่เกิดจากการแพ้ โรคหืด เป็นต้น แต่เมื่อนำสาร
สเตียรอยด์มาใช้เป็นยา จะต้องใช้ตามความจำเป็นเท่านั้น มิฉะนั้นจะเกิดอันตราย ยิ่งถ้าได้รับสเตียรอยด์เป็นเวลานานหรือในขนาดสูงมากจะยิ่งเป็นอันตรายมากขึ้น อันตรายที่จะเกิดขึ้นนั้น ได้แก่ การกดภูมิคุ้มกันของร่างกาย ความดันโลหิตสูง เพิ่มน้ำตาลในเลือด
กระดูกพรุน ต้อหิน ต้อกระจก เกิดแผลในกระเพาะอาหาร ผิวบาง หน้ากลมเป็นวงพระจันทร์ หลังเป็นหนอก เป็นต้น ซึ่งเมื่อหยุดสเตียรอยด์กระทันหันจะเกิดอาการขาดสเตียรอยด์ ความดันโลหิตลดต่ำ น้ำตาลในเลือดตกลง ตามมาด้วยการเป็นลมหมดสติ ทั้งนี้มักพบว่า มีผู้ป่วยโรคเรื้อรังนำยาสมุนไพรที่มีการปลอมปนสารเสตียรอยด์มาใช้ เนื่องจากยาสเตียรอยด์เป็นยาที่มีฤทธิ์กดการอักเสบ มีผลทำให้ผู้ที่ได้รับยาสเตียรอยด์อาจเห็นผลในการบรรเทาอาการได้อย่างรวดเร็ว รู้สึกพึงพอใจ จึงทำให้อาจละเลยการรักษาที่สาเหตุของโรคโดยตรง และมีความเสี่ยงต่อการเกิดอาการไม่พึงประสงค์ของยาสเตียรอยด์ก็ยิ่งเพิ่มมากขึ้น เพื่อความปลอดภัยของประชาชน ฝ่ายเภสัชกรรม โรงพยาบาลละงูจึงได้จัดทำโครงการนี้ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริม ป้องกันและเฝ้าระวังการใช้สารสเตียรอยด์ในยาสมุนไพรของประชาชนในเขตตำบลกำแพง และจัดอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการใช้ชุดทดสอบสเตียรอยด์ และอันตรายของสารสเตียรอยด์ในยาสมุนไพร ให้กับแกนนำอาสาสมัครสาธารณสุขและประชาชนทั่วไป จำนวน 60 คน จาก 12 หมู่บ้าน เพื่อให้สามารถตรวจสอบเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สมุนไพร โดยใช้ชุดทดสอบสารสเตียรอยด์ตรวจผลิตภัณฑ์ที่สงสัย และสำรวจข้อมูลการใช้ การจำหน่ายผลิตภัณฑ์สมุนไพรในพื้นที่ ร่วมกับคณะทำงาน
ผลการดำเนินงาน สรุปข้อมูลจากการสำรวจเพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้ผลิตภัณฑ์สมุนไพรและยาทางเลือก พบว่า ประชาชนในพื้นที่ตำบลกำแพง กว่าร้อยละ 50 ยังไม่รู้จักและไม่ทราบถึงอันตรายของสารสเตียรอยด์ กลุ่มตัวอย่าง มีการใช้ยาแผนปัจจุบันร่วมกับยาแผนโบราณร้อยละ 10.7 และร้อยละ 21.53 มีความเห็นว่า การกินยาชุดเมื่อมีอาการไม่สบาย เช่น เกิดการอักเสบเป็นไข้ ปวดเมื่อย ช่วยให้หายจากโรคโดยเร็วขึ้น จากการตรวจตัวอย่างทั้งหมด 22 ตัวอย่าง ทั้งหมดเป็นผลิตภัณฑ์ที่คนในหมู่บ้านซื้อมาใช้เอง มีทั้งผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่ผลิตในประเทศไทย และที่ผลิตจากต่างประเทศ จากการสำรวจร้านค้าในหมู้บ้านไม่พบว่ามีการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสมุนไพรกลุ่มเสี่ยงในร้านขายของชำ
คณะทำงานสรุปข้อมูลและจัดทำสื่อเพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ในเขตพื้นที่ตำบลกำแพง เพื่อให้ประชาชนได้รับทราบว่ามีผลิตภัณฑ์สมุนไพรชนิดใดที่ตรวจพบสารสเตียรอยด์ปลอมปน โดยมีการระบุวิธีการตรวจสอบข้อมูลผลิตภัณฑ์สมุนไพรเบื้องต้น และจัดให้มีชุดทดสอบสารสเตียรอยด์เืพ่อตรวจสอบผลิตภัณฑ์สมุนไพรในหมู่บ้าน ทั้ง 12 หมู่บ้าน คณะทำงานได้ประสานงานกับทีมเยี่ยมบ้านผู้ป่วยโรคเรื้องรังโรงพยาบาลละงู เพื่อให้มีการสำรวจข้อมูลการใช้ผลิตภัณฑ์ยาสมุนไพรในผู้ป่วยกลุ่มดังกล่าวต่อไป
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
1.แบบฟอร์มสำรวจข้อมูลมีความซับซ้อน ข้อมูลที่ได้จากการสำรวจในพื้นที่บางส่วนไม่สมบูรณ์ แนวทางแก้ไข ทบทวนความเข้าใจกับผู้สำรวจข้อมูล และเชิญผู้ร่วมดำเนินโครงการมาร่วมออกแบบฟอร์มสำรวจข้อมูลในครั้งต่อไป 2.ช่วงเวลาในการดำเนินกิจกรรมโครงการ เป็นช่วงที่มีการระบาดของโรค ที่มีการใช้ยากลุ่มเสี่ยงที่จะมีการปลอมปนสารสเตียรอยด์ลดลง ทำให้มีผลิตภัณฑ์ที่ส่งมาตรวจจำนวนไม่มากเท่าที่คาดการณ์ไว้ แนวทางแก้ไข แนะนำแนวทางในการดำเนินงาน การตรวจเฝ้าระวังอย่างต่อเนื่อง การให้ข้อมูลข้อเท็จจริงกับชุมชนในกรณีที่มีการระบาดของโรคในครั้งต่อไป 3.ระยะเวลาในการดำเนินโครงการและการสำรวจข้อมูลสั้นเกินไป แนวทางแก้ไข เพิ่มการสำรวจข้อมูล ในการเยี่ยมบ้านผู้ป่วยโรคเรื้อรังในเขตรับผิดชองของโรงพยาบาลละงู 4.แหล่งกระจายยาหรือผลิตภัณฑ์ที่เสี่ยงต่อการปลอมปนสารสเตียรอยด์ มาจากต่างประเทศทำให้ยากต่อการสืบค้นไปยังแหล่งผลิต แนวทางแก้ไข ประสานงานไปยังสาธารณสุขจังหวัด เพื่อร่วมหาแนวทางในการแก้ไขปัญหากับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 5.จากการสำรวจข้อมูลพบว่า แหล่งกระจายผลิตภัณฑ์ไม่ได้อยู่ตามร้านค้าในชุมชน แต่มาจากการที่คนในชุมชนซท้อมาใช้เองและขายต่อให้คนในหมู่บ้านที่มีความเจ็บป่วยคล้ายคลึงกัน แนวทางแก้ไข รายงานข้อมูลให้กับผู้นำชุมชน เพื่อร่วมกันหาแนวทางในการจัดการและกำหนดมาตรการแก้ไขปัญหาร่วมกันในชุมชนอย่างเหมาะสม |
|
จากข้อมูลที่ได้รับทราบจากแกนนำ อสม. ที่ดำเนินกิจกรรมโครงการตรวจสารสเตียรอยด์ร่วมกัน พบว่าหลังจากการอบรมความรู้ให้กับแกนนำ อสม.และประชาชน ให้ได้ทราบถึงสถานการณ์และ
อันตรายของการใช้ผลิตภัณฑ์ที่มีความปลอมปนสารสเตียรอยด์ ความรับรู้และความตระหนัก
เกี่ยวกับอันตรายของสารสเตียรอยด์ของคนในชุมชนเพิ่มมากขึ้น ผลการลงพื้นที่เพื่อสำรวจข้อมูล คณะทำงานมีความคาดหวังว่า การจัดทำโครงการตรวจเฝ้าระวังสารสเตียรอยด์ในยาสมุนไพร
ในเขตพื้นที่ตำบลกำแพงทั้ง 12 หมู่บ้าน จะส่งผลให้ประชาชนในพื้นที่เกิดความเข้าใจ ความปลอดภัยก่อนที่จะนำมาใช้ มีการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับสิ่งอันตรายเหล่าวนี้ให้คนในชุมชน รับทราบได้ และมีความเห็นว่าควนสนับสนุนให้มีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง โดยให้แกนนำ อสม. และประชาชนในชุมชนเป็นผู้ดำเนินกิจกรรม เพื่อขยายการดำเนินงานและเผยแพร่ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ไปยังตำบลอื่นๆในอำเภอละงู ต่อไป |
โครงการตรวจเฝ้าระวังสารสเตียรอยด์ ในยาสมุนไพร จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 2562 – L8010 – 1 - 3
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( โรงพยาบาลละงู )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......