กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพอบต.ตันหยงลุโละ


“ โครงการออกเยี่ยมบ้าน ติดตามฟื้นฟูสมรรถภาพดูแลสุขภาพคนพิการ ผู้ด้อยโอกาส ตำบลตันหยงลุโละ ”

ตำบลตันหยงลุโละ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
สำนักปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลตันหยงลุโละ

ชื่อโครงการ โครงการออกเยี่ยมบ้าน ติดตามฟื้นฟูสมรรถภาพดูแลสุขภาพคนพิการ ผู้ด้อยโอกาส ตำบลตันหยงลุโละ

ที่อยู่ ตำบลตันหยงลุโละ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 20/2562 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการออกเยี่ยมบ้าน ติดตามฟื้นฟูสมรรถภาพดูแลสุขภาพคนพิการ ผู้ด้อยโอกาส ตำบลตันหยงลุโละ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตันหยงลุโละ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพอบต.ตันหยงลุโละ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการออกเยี่ยมบ้าน ติดตามฟื้นฟูสมรรถภาพดูแลสุขภาพคนพิการ ผู้ด้อยโอกาส ตำบลตันหยงลุโละ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการออกเยี่ยมบ้าน ติดตามฟื้นฟูสมรรถภาพดูแลสุขภาพคนพิการ ผู้ด้อยโอกาส ตำบลตันหยงลุโละ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตันหยงลุโละ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 20/2562 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพอบต.ตันหยงลุโละ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้สูงอายุและผู้พิการในชุมชนเป็นแนวทางสำคัญในการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการโดยมีญาติหรือผู้ดูแลและคนในชุมชนมีส่วนร่วม  เนื่องจากความพิการทางร่างกายและทางจิตส่งผลต่อคุณภาพชีวิตทำให้ผู้พิการไม่สามารถดำรงชีวิตได้เทียบเท่าคนปกติ ไม่สามารถเข้าถึงระบบบริการทางการแพทย์ทำให้ขาดการดูแลรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพได้อย่างถูกต้องเหมาะสม และต่อเนื่อง ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุและผู้พิการรวมไปถึงการเป็นภาระต่อญาติหรือผู้ดูแล
ในเขตความรับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลตันหยงลุโละมีจำนวน3หมู่บ้าน จำนวนประชากรทั้งหมด 6,745 คน มีจำนวนผู้สูงอายุทั้งหมด 475 ผู้พิการทั้งหมด 210 คน คิดเป็นร้อยละ 44.76 ของประชากรทั้งหมด ซึ่งการดำเนินงานในด้านการดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการ ยังขาดความต่อเนื่องรวมไปถึงความครอบคลุมในการดูแลผู้พิการยังไม่ได้ตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด ปัจจุบันองค์การบริหารส่วนตำบลตันหยงลุโละซึ่งได้ดำเนินการในด้านการลงพื้นที่ตั้งแต่เดือน มกราคม 2552 - ปัจจุบัน ทำให้ทราบถึงปัญหาของผู้พิการในการเข้าถึงบริการฟื้นฟูสมรรถภาพและขาดการรับทราบข้อมูลที่ถูกต้องเกี่ยวกับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการ ความรู้เกี่ยวกับการฟื้นฟูสมรรถภาพ การขาดโอกาสรับการฟื้นฟูสภาพร่างกายให้สามารถทำกิจวัตรประจำวันและช่วยเหลือตนเองได้ดี การเข้าถึงข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับผู้พิการต่างๆอย่างเช่นเกณฑ์การขึ้นทะเบียน พม. การเข้ารับการรักษาและฟื้นฟูทั่วไป สถานที่ในการรับสงเคราะห์เกี่ยวกับอุปกรณ์เครื่องช่วยเหลือต่างๆ รวมไปถึงการมีกิจกรรมช่วยเหลือเพื่อนช่วยเพื่อน เครือข่าย ที่เข้มแข็ง ที่สามารถทำให้การดำเนินกิจกรรมในชมรมผู้พิการเป็นไปต่อเนื่อง ยังมีน้อยมาก   ดังนั้นเพื่อให้มีการดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการอย่างต่อเนื่องยั่งยืนองค์การบริหารส่วนตำบลตันหยงลุโละและชมรมผู้พิการของตำบลฯ และ แกนนำ/อสม. ให้มีศักยภาพในการปฏิบัติงานฟื้นฟูสมรรถภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ รวมทั้งผู้พิการรายเดิมที่จำเป็น ต้องได้รับการดูแล และผู้พิการที่ยังไม่เคยได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพในเขตพื้นที่รับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลตันหยงลุโละ ตลอดจนเป็นการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุและคนพิการในชุมชนที่ดีขึ้น และคลอบคลุมทุกพื้นที่จึงได้จัดทำโครงการ“เยี่ยมบ้าน ติดตาม ติดตามฟื้นฟูสมรรถภาพดูแลสุขภาพคนพิการ ผู้ด้อยโอกาส” เพื่อให้สมาชิกในชมรมพร้อมแกนนำ ญาติ/ อาสาสมัครหมู่บ้านสามารถดูแลและช่วยเหลือกันเองในชมรมได้อย่างยั่งยืนและต่อเนื่องต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 2.1 เพื่อให้คนพิการที่ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ และไม่มีผู้ดูแลได้รับการบำบัด ได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพที่ถูกต้อง จนสามารถช่วยเหลือตัวเองได้ 2.2 เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนมีความพร้อมในการดูแลสุขภาพคนพิการและผู้ด้อยโอกาสในพื้นที่ -2- 2.3 เพื่อให้คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส รู้สึกว่าตนมีคุณค่า และสามารถเข้าร่วมกิจกรรมของทางหน่วยงานอื่นได้ 2.4 เพื่อเพิ่มบริการด้านสุขภาพให้กับประชาชนและค้นหาคนพิการรายใหม่ในพื้นที่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการออกเยี่ยมบ้าน ติดตามฟื้นฟูสมรรถภาพดูแลสุขภาพคนพิการ ผู้ด้อยโอกาส ตำบลตันหยงลุโละ ประจำปีงบประมาณ 2562

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 60
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

7.1 คนพิการที่ไม่มีผู้ดูแล สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ในเบื้องต้น หลังได้รับการบำบัดฟื้นฟูสมรรถภาพที่ถูกต้อง
7.2 ชุมชนมีความพร้อมในการดูแลสุขภาพคนพิการและผู้ด้อยโอกาสในพื้นที่ 7.3 คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส รู้สึกว่าตนมีคุณค่า และสามารถเข้าร่วมกิจกรรมของทางหน่วยงาน อื่นได้ 7.4 เพิ่มบริการด้านสุขภาพให้กับประชาชนในพื้นที่


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. โครงการออกเยี่ยมบ้าน ติดตามฟื้นฟูสมรรถภาพดูแลสุขภาพคนพิการ ผู้ด้อยโอกาส ตำบลตันหยงลุโละ ประจำปีงบประมาณ 2562

วันที่ 3 พฤษภาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

  • กิจกรรมครั้งที่ 1  มีการประชุมอบรมแกนนำอาสาสมัครที่จะลงพื้นที่  เพื่อวางแผนการดำเนินงาน ในการเยี่ยมบ้าน ติดตาม ฟื้นฟูสมรรถภาพดูแลสุขภาพคนพิการ ผู้ด้อยโอกาส
  • กิจกรรมครั้งที่ 2   ออกเยี่ยมติดตามฯ  คณะทำงาน หรือแกนนำ ที่ผ่านการอบรมต้องออกเยี่ยม ดูแลคนพิการ และผู้ป่วยติดเตียง คนด้อยโอกาส เดือนละ 1 ครั้ง  เพื่อดูและสร้างกำลังใจในการดำเนินชีวิตและยกระดับคุณภาพชีวิตให้กับ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาสในตำบลตันหยงลุโละ
  • กิจกรรมครั้งที่ 2  ค้นหาและติดตามเยี่ยมผู้พิการรายใหม่ที่ต้องการความช่วยเหลือในชุมชน เพื่อได้รับสิทธิขั้นพื้นฐานของคนพิการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1  คนพิการที่ไม่มีผู้ดูแล  สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ในเบื้องต้น หลังได้รับการบำบัดฟื้นฟูสมรรถภาพที่ถูกต้อง
2  ชุมชนมีความพร้อมในการดูแลสุขภาพคนพิการและผู้ด้อยโอกาสในพื้นที่

3  คนพิการ  และผู้ด้อยโอกาส รู้สึกว่าตนมีคุณค่า และสามารถเข้าร่วมกิจกรรมของทางหน่วยงาน อื่นได้
4  เพิ่มบริการด้านสุขภาพให้กับประชาชนในพื้นที่

 

60 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1 คนพิการที่ไม่มีผู้ดูแล สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ในเบื้องต้น หลังได้รับการบำบัดฟื้นฟูสมรรถภาพที่ถูกต้อง
2 ชุมชนมีความพร้อมในการดูแลสุขภาพคนพิการและผู้ด้อยโอกาสในพื้นที่

3 คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส รู้สึกว่าตนมีคุณค่า และสามารถเข้าร่วมกิจกรรมของทางหน่วยงาน อื่นได้ 4 เพิ่มบริการด้านสุขภาพให้กับประชาชนในพื้นที่

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 2.1 เพื่อให้คนพิการที่ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ และไม่มีผู้ดูแลได้รับการบำบัด ได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพที่ถูกต้อง จนสามารถช่วยเหลือตัวเองได้ 2.2 เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนมีความพร้อมในการดูแลสุขภาพคนพิการและผู้ด้อยโอกาสในพื้นที่ -2- 2.3 เพื่อให้คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส รู้สึกว่าตนมีคุณค่า และสามารถเข้าร่วมกิจกรรมของทางหน่วยงานอื่นได้ 2.4 เพื่อเพิ่มบริการด้านสุขภาพให้กับประชาชนและค้นหาคนพิการรายใหม่ในพื้นที่
ตัวชี้วัด :
0.00 0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 60 60
กลุ่มผู้สูงอายุ 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 2.1  เพื่อให้คนพิการที่ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้  และไม่มีผู้ดูแลได้รับการบำบัด  ได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพที่ถูกต้อง  จนสามารถช่วยเหลือตัวเองได้ 2.2  เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนมีความพร้อมในการดูแลสุขภาพคนพิการและผู้ด้อยโอกาสในพื้นที่  -2-  2.3  เพื่อให้คนพิการ  และผู้ด้อยโอกาส รู้สึกว่าตนมีคุณค่า และสามารถเข้าร่วมกิจกรรมของทางหน่วยงานอื่นได้ 2.4  เพื่อเพิ่มบริการด้านสุขภาพให้กับประชาชนและค้นหาคนพิการรายใหม่ในพื้นที่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการออกเยี่ยมบ้าน ติดตามฟื้นฟูสมรรถภาพดูแลสุขภาพคนพิการ ผู้ด้อยโอกาส  ตำบลตันหยงลุโละ  ประจำปีงบประมาณ  2562

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการออกเยี่ยมบ้าน ติดตามฟื้นฟูสมรรถภาพดูแลสุขภาพคนพิการ ผู้ด้อยโอกาส ตำบลตันหยงลุโละ

รหัสโครงการ 20/2562 ระยะเวลาโครงการ 1 เมษายน 2562 - 30 กันยายน 2562

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

การอบรมให้ความกับแกนนำการช่วยเหลืองการฟื้นฟูดูแลคนพิการ มีการออกเยียมติดตาม ช่วยเหลือ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนด้อยโอกาส

ใบลงทะเบียน และรูปภาพการลงเยี่่ยม เอกสารค่่าใช้ตามงบประมาณ

มีการจัดตั้งกลุ่มจิตอาสาเพื่อฟื้นฟูดูแลสุขภาพผู้ป่วยติดเตียง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

ค้นหาและติดตามเยี่ยมผู้พิการรายใหม่ที่ต้องการความช่วยเหลือในชุมชน เพื่อได้รับสิทธิขั้นพื้นฐานของคนพิการ

การมีค้นพบผู้พิการรายใหม่ และมีการลงทะเบียนทำบัตรคนพิการ และรับเงินคนพิการ

มีการจัดอบรมต่อไปเพื่อเพิ่มทักษะกับกลุ่มแกนนำจิตอาสา

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

1.คนพิการที่ไม่มีผู้ดูแล สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ในเบื้องต้น หลังได้รับการบำบัดฟื้นฟูสมรรถภาพที่ถูกต้อง
2 ชุมชนมีความพร้อมในการดูแลสุขภาพคนพิการและผู้ด้อยโอกาสในพื้นที่

3 คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส รู้สึกว่าตนมีคุณค่า และสามารถเข้าร่วมกิจกรรมของทางหน่วยงาน อื่นได้ 4 เพิ่มบริการด้านสุขภาพให้กับประชาชนในพื้นที่

ใบลงทะเบียน และรูปภาพการลงเยี่่ยม เอกสารค่่าใช้ตามงบประมาณ

  1. การมีจิตอาสาที่มีความเสียสละ และมีจิตบริการ
  2. ผู้บริหารให้ความสำคัญกับการจัดงานด้านคนพิการ โดยให้การสนับสนุนอย่างสม่ำเสมอ ต่อเนื่อง
  3. การสนับสนุนงบประมาณจากสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดปัตตานี
  4. การจัดตั้งศูนย์บริการคนพิการตำบลตันหยงลุโละ
  5. การสนับสนุนสถานที่ บุคลากร วัสดุอุปกรณ์ในการจัดโครงการ จากองค์การบริหารส่วนตำบลตันหยงลุโละ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

1 มีการประชุมอบรมแกนนำอาสาสมัครที่จะลงพื้นที่ เพื่อวางแผนการดำเนินงาน ในการเยี่ยมบ้าน ติดตาม ฟื้นฟูสมรรถภาพดูแลสุขภาพคนพิการ ผู้ด้อยโอกาส - กิจกรรมครั้งที่ 2 ออกเยี่ยมติดตามฯ คณะทำงาน หรือแกนนำ ที่ผ่านการอบรมต้องออกเยี่ยม ดูแลคนพิการ และผู้ป่วยติดเตียง คนด้อยโอกาส เดือนละ 1 ครั้ง เพื่อดูและสร้างกำลังใจในการดำเนินชีวิตและยกระดับคุณภาพชีวิตให้กับ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาสในตำบลตันหยงลุโละ - กิจกรรมครั้งที่ 2 ค้นหาและติดตามเยี่ยมผู้พิการรายใหม่ที่ต้องการความช่วยเหลือในชุมชน เพื่อได้รับสิทธิขั้นพื้นฐานของคนพิการ


... คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจั

ใบลงทะเบียน และรูปภาพการลงเยี่่ยม เอกสารค่่าใช้ตามงบประมาณ

มีการจัดอบรมต่อไปเพื่อเพิ่มทักษะกับกลุ่มแกนนำจิตอาสา

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
  1. มีกลุ่มจิตอาสาสมัครดูแลผู้ป่วยติดเตียง
  2. มีคณะทำงานศูนย์บริการคนพิการช่วยเหลือฟื้นฟูผู้ป่วยติดเตียง
  3. มีกลุ่มชมรมผู้สูงอายุ
  1. มีรายชื่อกลุ่มจิตอาสาสมัครดูแลผู้ป่วยติดเตียง
  2. รายชื่อคณะทำงานศูนย์บริการคนพิการช่วยเหลือฟื้นฟูผู้ป่วยติดเตียง
  3. มีรายชื่อกลุ่มชมรมผู้สูงอายุ

มีการจัดอบรมและเรียกประชุมประจำเดือน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
  1. มีศูนย์บริการคนพิการ
  2. มีศูนย์ช่วยเหลือคนพิการ

มีการจัดตั้งศุนย์ฯ

มีการจัดประชุม และติดตามการทำงาน มีการอบรมให้ความรู้

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
  1. คนพิการที่ไม่มีผู้ดูแล สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ในเบื้องต้น หลังได้รับการบำบัดฟื้นฟูสมรรถภาพที่ถูกต้อง
    2 ชุมชนมีความพร้อมในการดูแลสุขภาพคนพิการและผู้ด้อยโอกาสในพื้นที่

    3 คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส รู้สึกว่าตนมีคุณค่า และสามารถเข้าร่วมกิจกรรมของทางหน่วยงาน อื่นได้ 4 เพิ่มบริการด้านสุขภาพให้กับประชาชนในพื้นที่

1 การเข้ารับตรวจสุขภาพคนผู้ป่วย 2 คนพิการที่ไม่มีผู้ดูแล สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ในเบื้องต้น หลังได้รับการบำบัดฟื้นฟูสมรรถภาพที่ถูกต้อง

มีการจัดประชุม และติดตามการทำงาน มีการอบรมให้ความรู้

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค
  1. เครือข่ายหน่วยงานคนพิการที่ปฏิบัติงานระดับชุมชน ได้แก่ องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น สถานีอนามัยในชุมชน เจ้าหน้าที่สถานีอนามัยเข้าไปมีส่วนร่วมในการจัด

มีการลงพื้นที่ตรวจสุขภาพในการบริโภคให้เหมาะสมกับผู้พิการและผู้ป่วยติดเตียง

มีการจัดการอบรมและให้ความรู้ประจำเดือน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

1.  เพื่อให้คนพิการที่ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ และไม่มีผู้ดูแลได้รับการบำบัด ได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพที่ถูกต้อง จนสามารถช่วยเหลือตัวเองได้ 2.  เพื่อส่งเสริมให้คนพิการในชุมชนมีความพร้อมในการดูแลสุขภาพ ด้วยการออกกำลังกายในพื้นที่

1.การที่คนพิการได้เข้าร้วมชมรมการออกกำลังกาย 2. รูปภาพการออกกำลังกายของแต่ละชมรมที่มีคนพิการเข้าร้่วมกิจกรรม

1 มีการส่งเสริมการออกกำลังกาย 2. อบรมให้ความรู้ในเรื่องการดูแลสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

1คนพิการ ผู้ป่วยติดตามรู้สึกว่าตนเองมีคุณค่า 2 ได้มีการออกมารวมกลุ่มในสังคม 3.ได้ออกกำลังกายเพื่อสุขภาพที่ดี

  1. คนพิการได้เข้าร่วมกลุ่มออกกำลังกาย
  2. คนพิการได้เข้าร้วมกิจกรรมทางสังคม

มีการจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง และงบประมาณอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

1 คนพิการที่ไม่มีผู้ดูแล สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ในเบื้องต้น หลังได้รับการบำบัดฟื้นฟูสมรรถภาพที่ถูกต้อง
2.คนพิการมีสุขภาพจิต กาย ที่ดีขึ้น

จากการที่คนพิการได้เข้ามาร้วมกิจกรรม ไม่เป็นคนติดบ้าน ได้พบปะพูดคุยกับคนนอกบ้าน

ชุมชนมีความพร้อมในการดูแลสุขภาพคนพิการและผู้ด้อยโอกาสในพื้นที่

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

เพิ่มบริการด้านสุขภาพให้กับประชาชนในพื้นที่

มีศูนย์บริการคนพิการประจำตำบลตันหยงลุโละ

ให้มีการจัดการให้ความรู้กับคณะทำงาน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

ข้อมูลที่ได้จะนำไปสู่การวางแผนพัฒนาเพื่อส่งเสริมการเข้าถึงสิทธิของคนพิการและสอดคล้องกับความต้องการของคนพิการ และบรรจุในข้อบัญญํติต่อไป

บรรจุงบประมาณในข้อบัญญัติท้องถืน

ผู้บริหารให้ความสำคัญกับการจัดงานด้านคนพิการ โดยให้การสนับสนุน วางงบประมาณในข้อบัญญัติอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ ต่อเนื่อง

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
  1. อาสาสมัครพัฒนาสังคมฯ ช่วยเหลือคนพิการ ( อพมก.) ที่ผ่านกระบวนการฝึกอบรมตามหลักสูตรการอบรม
  2. เครือข่ายหน่วยงานคนพิการที่ปฏิบัติงานระดับชุมชน ได้แก่ องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น สถานีอนามัยในชุมชน เจ้าหน้าที่สถานีอนามัย
  3. ครอบครัว / ผู้ดูแลคนพิการ ผู้นำชุมชน และคนนครอบครัว
  4. คนพิการ
  1. มีรายชื่อกลุ่มจิตอาสาสมัครดูแลผู้ป่วยติดเตียง
  2. รายชื่อคณะทำงานศูนย์บริการคนพิการช่วยเหลือฟื้นฟูผู้ป่วยติดเตียง
  3. มีรายชื่อกลุ่มชมรมผู้สูงอายุ

มีการจัดอบรมให้ความรู้กับแกนนำที่มีจิตอาสา และคนพิการ ผู้ดูแลคนพิการ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

คนพิการมีจำนวนมากทำให้การดูแลไม่ทั่วถึง ขาดแคลนบุคลากร จำนวนเจ้าหน้าที่ไม่เพียงพอ อีกทั้งต้องดำเนินงานภายใต้งบประมาณที่มีอยู่อย่างจำกัด ทำให้ผู้เข้าร่วมโครงการไม่สามารถเข้าร่วมได้ทุกครอบครัว ทำให้ญาติหรือผู้ดูแลคนพิการขาดโอกาส รับการฟื้นฟูสภาพร่างกายทำให้ไม่สามารถทำกิจวัตรประจำวันและช่วยเหลือตนเองได้ไม่ดี อีกทั้งการเดินทางในชุมชนไม่สะดวก เป็นชุมชนแออัด จำนวนประชากรหนาแน่น และผู้นำในชุมชนยังขาดความร่วมมือเท่าที่ควร จึงมีผลทำให้มีการพัฒนางานอย่างไม่ต่อเนื่อง

ครอบครัวกลุ่มเป้าหมายมีความรักสามัคคีต่อกันในชุมชน 2. เกิดความร่วมมือจากกลุ่มเป้าหมายมากขึ้นในกิจกรรมเพื่อส่วนรวม 3. คณะทำงานและกลุ่มเป้าหมายมองเห็นปัญหาของครอบครัวคนพิการในชุมชน และตื่นตัวที่จะพัฒนาโครงการ กิจกรรมอย่างต่อเนื่อง

  1. อาสาสมัครพัฒนาสังคมฯ ช่วยเหลือคนพิการ ( อพมก.) ที่ผ่านกระบวนการฝึกอบรมตามหลักสูตรการอบรม
  2. เครือข่ายหน่วยงานคนพิการที่ปฏิบัติงานระดับชุมชน ได้แก่ องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น สถานีอนามัยในชุมชน เจ้าหน้าที่สถานีอนามัย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

2 ชุมชนมีความพร้อมในการดูแลสุขภาพคนพิการและผู้ด้อยโอกาสในพื้นที่

3 คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส รู้สึกว่าตนมีคุณค่า และสามารถเข้าร่วมกิจกรรมของทางหน่วยงาน อื่นได้ 4 เพิ่มบริการด้านสุขภาพให้กับประชาชนในพื้นที่

ชุมชนมีความพร้อมในการดูแลสุขภาพคนพิการและผู้ด้อยโอกาสในพื้นที่

เพิ่มบริการด้านสุขภาพให้กับประชาชนในพื้นที่

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

อาสาสมัครพัฒนาสังคมฯ ช่วยเหลือคนพิการ ( อพมก.) ที่ผ่านกระบวนการฝึกอบรมตามหลักสูตรการอบรม

การจัดตั้งศูนย์บริการคนพิการตำบลตันหยงลุโละ

คณะทำงานและกลุ่มเป้าหมายมองเห็นปัญหาของครอบครัวคนพิการในชุมชน และตื่นตัวที่จะพัฒนาโครงการ กิจกรรมอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
  1. ครอบครัวกลุ่มเป้าหมายมีความรักสามัคคีต่อกันในชุมชน
  2. เกิดความร่วมมือจากกลุ่มเป้าหมายมากขึ้นในกิจกรรมเพื่อส่วนรวม

เกิดสัมพันธภาพที่ดีของคนในชุมชน 2. ครอบครัวคนพิการมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น 3. ชุมชนมีการตื่นตัวในการทำงานด้านส่งเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนพิการ

. ข้อมูลที่ได้จะนำไปสู่การวางแผนพัฒนาเพื่อส่งเสริมการเข้าถึงสิทธิของคนพิการและสอดคล้องกับความต้องการของคนพิการต่อไป

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

. ครอบครัวคนพิการมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น . ชุมชนมีการตื่นตัวในการทำงานด้านส่งเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนพิการ

ชุมชนมีการตื่นตัวในการทำงานด้านส่งเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนพิการ\n. คนพิการที่ไม่มีผู้ดูแล สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ในเบื้องต้น หลังได้รับการบำบัดฟื้นฟูสมรรถภาพที่ถูกต้อง

ชุมชนมีการตื่นตัวในการทำงานด้านส่งเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนพิการ 4. ข้อมูลที่ได้จะนำไปสู่การวางแผนพัฒนาเพื่อส่งเสริมการเข้าถึงสิทธิของคนพิการและสอดคล้องกับความต้องการของคนพิการต่อไป

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
  1. ชุมชนมีความพร้อมในการดูแลสุขภาพคนพิการและผู้ด้อยโอกาสในพื้นที่

    1. คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส รู้สึกว่าตนมีคุณค่า และสามารถเข้าร่วมกิจกรรมของทางหน่วยงาน อื่นได้
    2. เพิ่มบริการด้านสุขภาพให้กับประชาชนในพื้นที่
  1. อาสาสมัครพัฒนาสังคมฯ ช่วยเหลือคนพิการ
    ( อพมก.) ที่ผ่านกระบวนการฝึกอบรมตามหลักสูตรการอบรม
  2. เครือข่ายหน่วยงานคนพิการที่ปฏิบัติงานระดับชุมชน ได้แก่ องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น สถานีอนามัยในชุมชน เจ้าหน้าที่สถานีอนามัย
  3. ครอบครัว / ผู้ดูแลคนพิการ ผู้นำชุมชน และคนนครอบครัว
  4. คนพิการ

มีการจัดอบรมและเรียกประชุมประจำเดือน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

1.ชุมชนมีความพร้อมในการดูแลสุขภาพคนพิการและผู้ด้อยโอกาสในพื้นที่ 2. คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส รู้สึกว่าตนมีคุณค่า และสามารถเข้าร่วมกิจกรรมของทางหน่วยงาน อื่นได้3. เพิ่มบริการด้านสุขภาพให้กับประชาชนในพื้นที่

  1. มีรายชื่อกลุ่มจิตอาสาสมัครดูแลผู้ป่วยติดเตียง
  2. รายชื่อคณะทำงานศูนย์บริการคนพิการช่วยเหลือฟื้นฟูผู้ป่วยติดเตียง
  3. มีรายชื่อกลุ่มชมรมผู้สูงอายุ

มีการจัดประชุม และติดตามการทำงาน มีการอบรมให้ความรู้

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา
  1. การมีจิตอาสาที่มีความเสียสละ และมีจิตบริการ
  2. ผู้บริหารให้ความสำคัญกับการจัดงานด้านคนพิการ โดยให้การสนับสนุนอย่างสม่ำเสมอ
  1. อาสาสมัครพัฒนาสังคมฯ ช่วยเหลือคนพิการ ( อพมก.) ที่ผ่านกระบวนการฝึกอบรมตามหลักสูตรการอบรม
  2. เครือข่ายหน่วยงานคนพิการที่ปฏิบัติงานระดับชุมชน ได้แก่ องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น สถานีอนามัยในชุมชน เจ้าหน้าที่สถานีอนามัย
  3. ครอบครัว / ผู้ดูแลคนพิการ ผู้นำชุมชน และคนนครอบครัว

มีการจัดประชุม และติดตามการทำงาน มีการอบรมให้ความรู้

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการออกเยี่ยมบ้าน ติดตามฟื้นฟูสมรรถภาพดูแลสุขภาพคนพิการ ผู้ด้อยโอกาส ตำบลตันหยงลุโละ จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 20/2562

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( สำนักปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลตันหยงลุโละ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด