กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา


“ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการกระบวนการและเทคนิคการให้คำปรึกษาปัญหาวัยรุ่นวิทยาลัยอาชีวศึกษาผดุงประชายะลา จังหวัดยะลา ”

ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวอัสมา จินดารัตน์ เลขานุการองค์การนักวิชาชีพในอนาคตแห่งประเทศไทย

ชื่อโครงการ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการกระบวนการและเทคนิคการให้คำปรึกษาปัญหาวัยรุ่นวิทยาลัยอาชีวศึกษาผดุงประชายะลา จังหวัดยะลา

ที่อยู่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61 – L7452 – 2 – 10 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 19 มีนาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการกระบวนการและเทคนิคการให้คำปรึกษาปัญหาวัยรุ่นวิทยาลัยอาชีวศึกษาผดุงประชายะลา จังหวัดยะลา จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการกระบวนการและเทคนิคการให้คำปรึกษาปัญหาวัยรุ่นวิทยาลัยอาชีวศึกษาผดุงประชายะลา จังหวัดยะลา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการกระบวนการและเทคนิคการให้คำปรึกษาปัญหาวัยรุ่นวิทยาลัยอาชีวศึกษาผดุงประชายะลา จังหวัดยะลา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 61 – L7452 – 2 – 10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 19 มีนาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 45,160.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันปัญหาพฤติกรรมของเยาวชนไทยในสังคมนับเป็นปัญหาเร่งด่วนที่จำเป็นต้องได้รับการดูแลแก้ไขและป้องกันอย่างจริงจังและมีประสิทธิภาพการปราบปรามและการลงโทษเป็นการแก้ปัญหาเฉพาะที่ปลายเหตุไม่สามารถหยุดยั้งพฤติกรรมที่เป็นอันตรายต่อสังคมโดยรวมได้ การเข้าใจปัญหาและสาเหตุ เข้าใจวัยรุ่นและความต้องการของวัยรุ่น รวมทั้งการให้โอกาสวัยรุ่นที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยงได้รับการบริการให้การปรึกษาและนำนำอย่างถูกต้องเหมาะสมจากผู้เชี่ยวชาญ/ผู้ที่มีความรู้โดยจัดให้มีบริการฝึกทักษะเพื่อแก้ไขปัญหาและพัฒนา EQ โดยให้วัยรุ่นได้มีประสบการณ์ในการจัดการกับปัญหาต่าง ๆไม่ว่าจะเป็นปัญหาที่เกิดจากการเรียนความรักเพศครอบครัว ยาเสพติดหรือปัญหาที่ทำให้ขาดความภาคภูมิใจในตนเองจนเป็นเหตุให้เกิดการแสดงออกของพฤติกรรมความก้าวร้าวรุนแรงจึงจำเป็นต้องป้องกันแก้ไขที่ถูกจุดรวมทั้งเป็นการพัฒนาและปรับเปลี่ยนความคิดพฤติกรรม ให้แก่วัยรุ่นที่ได้ผลยั่งยืนในระยะยาว จากการสำรวจพบว่านักเรียน นักศึกษาที่จะจัดมาเป็นแกนนำไม่มีทักษะความรู้เกี่ยวกับกระบวนการเทคนิคการให้คำปรึกษา กระบวนการในการให้ความช่วยเหลือและช่องทางในการช่วยเหลือของหน่วยงานต่าง ๆดังนั้นวิทยาลัยอาชีวศึกษาผดุงประชายะลา จึงได้จัดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการกระบวนการและเทคนิคการให้คำปรึกษาปัญหาวัยรุ่นวิทยาลัยอาชีวศึกษาผดุงประชายะลาให้กับครู ที่ปรึกษา และนักเรียน นักศึกษาแกนนำ ให้มีทักษะในการให้บริการให้คำปรึกษากับนักเรียน นักศึกษา และวัยรุ่นที่เข้ามารับบริการจากศูนย์เพื่อนใจวัยรุ่นทั้งในด้านการให้คำปรึกษา การดูแลช่วยเหลือเพื่อนวัยรุ่นการจัดกิจกรรมให้วัยรุ่นที่เข้ามารับบริการในศูนย์เพื่อนใจวัยรุ่นภายใต้แนวทางการให้บริการเพื่อ ปรับทุกข์สร้างสุขแก้ปัญหา พัฒนา EQมีความสามารถในการปรับตัวทั้งในด้านการเรียน การรู้จักการป้องกันตนจากปัญหา การปรับเปลี่ยนค่านิยมที่ไม่เหมาะสมรวมถึงการเรียนรู้การปรับตัวกับความขัดแย้งที่อาจเกิดขึ้นในชีวิตประจำวันได้อย่างมีความสุขเพื่อลดพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่นให้ลดลง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ครูที่ปรึกษา และนักเรียน นักศึกษาแกนนำมีความรู้ ความเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างการพัฒนาสุขภาพในวัยรุ่น ธรรมชาติวัยรุ่นสามารถสร้างสัมพันธ์ภาพที่ดี และสื่อสารทางบวกกับวัยรุ่นได้
  2. 2. เพื่อให้ครูที่ปรึกษาและนักเรียน นักศึกษาสามารถคัดกรอง วิเคราะห์ปัญหาสุขภาพจิตของวัยรุ่นให้การดูแลช่วยเหลือ และจัดกิจกรรมเพื่อแก้ปัญหาพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ได้
  3. 3. ผู้เข้ารับอบรมมีความพึงพอใจของการจัดกิจกรรมผ่านงบสนับสนุน ของกองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 จัดประชุมชี้แจงเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ร่วมกับครูที่ปรึกษา และนักเรียน นักศึกษาแกนนำ จำนวน 20 คน
  2. กิจกรรมที่ 2 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้แก่ครูที่ปรึกษาจำนวน 10 คน และนักเรียน นักศึกษาแกน ปวช. ระดับชั้น ปวส. จำนวน 50 คน รวมเป็น 60 คน ระยะเวลา 3 วัน
  3. กิจกรรมที่ 3 จัดประชุมประเมินผลเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ร่วมกับครูอาจารย์ จำนวน 20 คน ระยะเวลา 1วัน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ครูที่ปรึกษา และนักเรียน นักศึกษา มีความรู้ มีทักษะ ในการให้คำปรึกษาและช่วยเหลือนักเรียน นักศึกษาที่มีปัญหาด้านต่างๆได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
  2. ผู้รับบริการได้รับการช่วยเหลือป้องกันปัญหาเกี่ยวกับพฤติกรรมเสี่ยงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและดำเนินชีวิตประจำวันและอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
  3. ให้คำปรึกษาสามารถแก้ปัญหาเยาวชนที่มีพฤติกรรมเสี่ยงเพื่อลดปัญหาด้านสังคมด้านการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ การติดต่อทางเพศสัมพันธ์ปัญหายาเสพติด ปัญหาด้านการเรียนให้ลดลง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ครูที่ปรึกษา และนักเรียน นักศึกษาแกนนำมีความรู้ ความเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างการพัฒนาสุขภาพในวัยรุ่น ธรรมชาติวัยรุ่นสามารถสร้างสัมพันธ์ภาพที่ดี และสื่อสารทางบวกกับวัยรุ่นได้
ตัวชี้วัด : 1. ลดอัตราปัญหาของวัยรุ่นในวิทยาลัยอาชีวศึกษาในวิทยาลัยฯ ร้อยละ 80
0.00

 

2 2. เพื่อให้ครูที่ปรึกษาและนักเรียน นักศึกษาสามารถคัดกรอง วิเคราะห์ปัญหาสุขภาพจิตของวัยรุ่นให้การดูแลช่วยเหลือ และจัดกิจกรรมเพื่อแก้ปัญหาพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ได้
ตัวชี้วัด : 2. ลดอัตราการเกิดปัญหาที่เกี่ยวกับพฤติกรรมเสี่ยงด้านสิ่งเสพติด ทางเพศสัมพันธ์ ลดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และโรคซึมเศร้ารายใหม่ในวิทยาลัยร้อยละ 80
0.00

 

3 3. ผู้เข้ารับอบรมมีความพึงพอใจของการจัดกิจกรรมผ่านงบสนับสนุน ของกองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา
ตัวชี้วัด : 3.ร้อยละของผู้เข้ารับอบรมมีความพึงพอใจไม่น้อยกว่า ร้อยละ80
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ครูที่ปรึกษา และนักเรียน นักศึกษาแกนนำมีความรู้ ความเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างการพัฒนาสุขภาพในวัยรุ่น ธรรมชาติวัยรุ่นสามารถสร้างสัมพันธ์ภาพที่ดี และสื่อสารทางบวกกับวัยรุ่นได้ (2) 2. เพื่อให้ครูที่ปรึกษาและนักเรียน  นักศึกษาสามารถคัดกรอง วิเคราะห์ปัญหาสุขภาพจิตของวัยรุ่นให้การดูแลช่วยเหลือ และจัดกิจกรรมเพื่อแก้ปัญหาพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ได้ (3) 3. ผู้เข้ารับอบรมมีความพึงพอใจของการจัดกิจกรรมผ่านงบสนับสนุน ของกองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1  จัดประชุมชี้แจงเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ร่วมกับครูที่ปรึกษา และนักเรียน  นักศึกษาแกนนำ จำนวน  20  คน (2) กิจกรรมที่ 2 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้แก่ครูที่ปรึกษาจำนวน  10 คน  และนักเรียน นักศึกษาแกน ปวช. ระดับชั้น  ปวส.  จำนวน  50  คน  รวมเป็น 60 คน  ระยะเวลา 3 วัน (3) กิจกรรมที่ 3 จัดประชุมประเมินผลเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ร่วมกับครูอาจารย์ จำนวน 20 คน ระยะเวลา 1วัน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการกระบวนการและเทคนิคการให้คำปรึกษาปัญหาวัยรุ่นวิทยาลัยอาชีวศึกษาผดุงประชายะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61 – L7452 – 2 – 10

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวอัสมา จินดารัตน์ เลขานุการองค์การนักวิชาชีพในอนาคตแห่งประเทศไทย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด