กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละแมะนา


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงเพื่อหลีกเลี่ยงโรคเบาหวานและความดัน ”

ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวนูรฮูดาร์ วาเง๊าะ

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงเพื่อหลีกเลี่ยงโรคเบาหวานและความดัน

ที่อยู่ ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62-2986-4 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 เมษายน 2562 ถึง 31 กรกฎาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงเพื่อหลีกเลี่ยงโรคเบาหวานและความดัน จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละแมะนา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงเพื่อหลีกเลี่ยงโรคเบาหวานและความดัน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงเพื่อหลีกเลี่ยงโรคเบาหวานและความดัน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 62-2986-4 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 เมษายน 2562 - 31 กรกฎาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละแมะนา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จำเป็นต้องมีการจัดหารอย่างเป็นระบบ เนื่องจากเป็นโรคที่ต้องดูแล รักษาอย่างต่อเนื่อง และมีค่าใช้จ่ายสูง แนวโน้มสัดส่วนโครงสร้างประชากรไทย มีกลุ่มผู้สูงอายุจะมากขึ้น และกลุ่มคนเหล่านี้เป็นกลุ่มที่มีความเสี่่ยงต่อการเป็นโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงและโรคเรื้อรังอื่นๆ ในขณะที่ประชากรวัยรุ่นและวัยทำงานมีวิถีชีวิตและพฤติกรรมที่มีความเสี่ยงสูงต่อการเป็นโรคเมตาบอลิค โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงซึ่งนำไปสู่โรคที่รุนแรงอื่นๆ ที่เป็นภาระหนักต่อระบบสาธารณสุขทั้งด้านการจัดบริการที่มีค่ารักษาพยาบาลที่สูงขึ้้นมาก และเป็นสาเหตุของการสูญเสีชีวิตและอวัยวะ เช่น โรคไตวาย โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง ตาบอด การตัดอวัยวะ ปัจจุบันคนไทยป่วยด้วยโรคเบาหวานสูงถึง 3.2 ล้านคน แต่เข้าถึงระบบบริการเพียงแค่ร้อยละ 41 ป่วยเป็นความดันโลหิตสูงถึง 10 ล้านคน แต่เข้าถึงระบบบริการแค่ร้อยละ 29 นอกจากนี้จากสถิติรายงานพบว่าผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมความดันโลหิตได้เพียงร้อยละ 30-40 และโรคเบาหวานควบคุมได้ดีเพียงร้อยละ 16 ทั้งสองโรคนี้เป็นสาเหตุของโรคร่วมที่ทำให้เสียชีวิตและอวัยวะ ต้องใช้ทรัพยากรที่หลากหลายทั้งผู้เชี่ยวชาญและเทคโนโลยีราคาแพงทางการแพทย์ในการดูแลรักษา เกิดสถาณการณ์การจัดทรัพยากรการรักษาพยาบาลที่ไม่เพียงพอและไม่คุ้มค่า มีความไม่เป็นธรรมในการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีการจัดการโรคเบาหวานความดันโลหิตสูงเป็นพิเศษ จากการคัดกรองความเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ปี 2561 ในประชาชนกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป จำนวน 658 ราย พบความเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 375 ราย คิดเป็นร้อยละ 61.98 และกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน จำนวน 151 ราย คิดเป็นร้อยละ 22.95 จะเห็นได้ว่ากลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง มีเกินครึ่งหนึ่งเมื่อเทียบกับจำนวนกลุ่มปกติ กลุ่มเหล่านี้ถ้าใช้ชีวิตตามปกติเหมือนเดิมโอกาสที่จะเป็นโรคมีสูงมากและจะทำให้เกิดเป็นกลุ่มป่วยรายใหม่ เพื่อให้ประชาชนที่เป็นกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ให้ได้รับความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องและเพื่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเองได้อย่างยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้เรียนรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
  2. เพื่อลดอัตราการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ดีขึ้น
    2. มีเครือข่าย/แกนนำด้านสุขภาพในชุมชน

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้เรียนรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
    ตัวชี้วัด : 1.1 ประชากรกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรอง ร้อยละ 90 1.2 ประชากรกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับพฤติกรรม ร้อยละ 50
    0.00

     

    2 เพื่อลดอัตราการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
    ตัวชี้วัด : 2.1 กลุ่มสงสัยโรคเบาหวานได้รับการวินิจฉัยไม่เกินร้อยละ 5 2.2 กลุ่มสงสัยโรคความดันโลหิตสูงได้รับการวินิจฉัย ไม่เกินร้อยละ 10
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้เรียนรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง (2) เพื่อลดอัตราการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงเพื่อหลีกเลี่ยงโรคเบาหวานและความดัน จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 62-2986-4

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวนูรฮูดาร์ วาเง๊าะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด