กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าแก่บ่อหิน


“ ชุมชนร่วมใจต้านภัยโรคไม่ติดต่อแบบยั่งยืน ปี62 ”

ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายสะบัน สำนักพงศ์

ชื่อโครงการ ชุมชนร่วมใจต้านภัยโรคไม่ติดต่อแบบยั่งยืน ปี62

ที่อยู่ ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-L5295-1-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 เมษายน 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"ชุมชนร่วมใจต้านภัยโรคไม่ติดต่อแบบยั่งยืน ปี62 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าแก่บ่อหิน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ชุมชนร่วมใจต้านภัยโรคไม่ติดต่อแบบยั่งยืน ปี62



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อและสามมารถดูแลตนเองไม่ให้ป่วยด้วยโรคความดันและเบาหวาน (2) ข้อที่ 2 เพื่อให้กลุ่มป่วยปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและป้องกันตัวเองไม่ให้เกิดโรคแทรกซ้อน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. ส่งเสริมการเข้าถึงบริการของประชาชน 35 ปี ขึ้นไปในการคัดกรองโรคเบาหวาน,ความดันโลหิตสูง -วัดความดันโลหิต -ตรวจน้ำตาลปลายนิ้ว (2) 2.การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3อ 2ส ในกลุ่มเสี่ยงที่มีรอบเอวเกินมาตรฐาน (3) 3. การดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคเรื้อรังเพื่อลดภาวะแทรกซ้อน (4) ตรวจคัดกรองความเสี่ยงในผู้ป่วยโรคเบาหวาน( ตา ไต เท้า)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...ควรมีการดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่องเพื่อการปรับเปลียนพฤติกรรมที่ยั่งยืน เห็นผลชัดเจนต่อไป

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อและสามมารถดูแลตนเองไม่ให้ป่วยด้วยโรคความดันและเบาหวาน
  2. ข้อที่ 2 เพื่อให้กลุ่มป่วยปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและป้องกันตัวเองไม่ให้เกิดโรคแทรกซ้อน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. ส่งเสริมการเข้าถึงบริการของประชาชน 35 ปี ขึ้นไปในการคัดกรองโรคเบาหวาน,ความดันโลหิตสูง -วัดความดันโลหิต -ตรวจน้ำตาลปลายนิ้ว
  2. 2.การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3อ 2ส ในกลุ่มเสี่ยงที่มีรอบเอวเกินมาตรฐาน
  3. 3. การดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคเรื้อรังเพื่อลดภาวะแทรกซ้อน
  4. ตรวจคัดกรองความเสี่ยงในผู้ป่วยโรคเบาหวาน( ตา ไต เท้า)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเรื้อรังได้รับความรู้ในปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
  2. กลุ่มป่วยโรคเรื้อรังมีความรู้ในการดูแลตนเองและลดภาวะแทรกซ้อน
  3. ผู้ป่วยโรคเบาหวานได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อน
  4. อสม.และแกนนำ มีความรู้ในการคัดกรองโรคเรื้อรังเบื้องต้น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 2.การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3อ 2ส ในกลุ่มเสี่ยงที่มีรอบเอวเกินมาตรฐาน

วันที่ 29 พฤษภาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

๑.อบรมให้ความรู้เรื่อง ๓ อ ๒ ส ลดพุง ลดโรค ๒. ประกวดการออกกำลังกายในหมู่บ้าน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีผู้เข้าร่วมอบรม จำนวน ๑๐๐ คน จัดเป็นกลุ่มๆละ ๒๕ คนจำนวน ๔ ครั้ง และมีการประกวดแอโรบิกแต่ละหมู่บ้านจำนวน ๔ หมู่บ้าน

 

100 0

2. 3. การดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคเรื้อรังเพื่อลดภาวะแทรกซ้อน

วันที่ 31 พฤษภาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมอบรมให้ความรุ้เรื่องโรคเรื้อรัง อาหารและยาในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
การออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง สาธิตการทำเมนุอาหารเพื่อสุขภาพ ตัวอย่างเครื่องปรุงที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน ๕๐ คน
มีการสาธิตการทำเมนูอาหารเพื่อสุขภาพ

 

50 0

3. ตรวจคัดกรองความเสี่ยงในผู้ป่วยโรคเบาหวาน( ตา ไต เท้า)

วันที่ 3 มิถุนายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

มีการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเบาหวาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ป่วยโรคเบาหวานทั้งหมด  ๙๓ ราย ได้รับการตรวจจอประสาทตา จำนวน ๖๓ ราย  คิดเป็นร้อยละ ๖๗.๗๔  และได้รับการตรวจเท้า ๘๔ ราย คิดเป็นร้อยละ ๙๐.๓๒

 

50 0

4. 1. ส่งเสริมการเข้าถึงบริการของประชาชน 35 ปี ขึ้นไปในการคัดกรองโรคเบาหวาน,ความดันโลหิตสูง -วัดความดันโลหิต -ตรวจน้ำตาลปลายนิ้ว

วันที่ 18 พฤศจิกายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

วัดความดันโลหิต ตรวจน้ำตาลปลายนิ้ว

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้เครื่องวัดความดันOmron จำนวน ๔ ชุด
เครื่องตรวจระดับน้ำตาลปลายนิ้ว จำนวน ๔ เครื่่อง

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

๑.ได้มีการจัดอบรมให้ความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ๓ อ๒ ส ในกลุ่มที่มีรอบเอวเกินมาตรฐาน จำนวน ๑๐๐ คน มีการสาธิตการทำเมนูอาหารสุขภาพ การออกกำลังกายที่เหมาะสม
(ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ปี ๒๕๖๑ จำนวน ๑๓ ราย ปี๒๕๖๒ รายใหม่จำนวน ๒๑ ราย , ผู้ป่วยโรคเบาหวาน รายใหม่ปี ๒๕๖๑ จำนวน ๕ ราย ปี ๒๕๖๒ จำนวน ๙ ราย) ๒. ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ๙๓ ราย ได้รับการตรวจจอประสาทตา จำนวน ๖๓ ราย คิดเป็นร้อยละ ๖๗.๗๔ และได้รับการตรวจเท้า ๘๔ ราย คิดเป็น ร้อยละ ๙๐.๓๒ ตัวชี้วัด ๑. ร้อยละของประชากรอายุ ๓๕ ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูล - เป้า ๘๔๔ คน ได้ตรวจคัดกรองเบาหวานความดัน จำนวน ๗๘๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๙๒.๘๙ - เสี่ยงเบาหวาน ๒๓๓ คน ป่วยรายใหม่ ๔ คนคิดเป้นร้อยละ ๑.๗๒ - เสี่ยงความดันโลหิตสูง ๕๑ ราย ป่วยรายใหม่ ๑ ราย คิดเป้นร้อยละ ๑.๙๖ ๒. ประชากรอายุ ๑๘-๕๙ ปี ได้รับการวัดรอบเอว - ได้รับการวัด ๖๗๗ คน ปกติ ๒๔๒ คน คิดเป้นร้อยละ ๓๕.๗๕ - ได้รับการวัด ๖๗๗ คน รอบเอวเกิน ๔๓๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๖๔.๒๕ - ได้รับการอบรม ๓อ๒ส จำนวน ๑๐๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๒.๙๘ ๓. ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่คุมน้ำตาลได้ดี ผู้ป่วย ๙๓ คน ได้รับการตรวจเลือดประจำปี ๖๘ คน คุมได้ดี ๑๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๕.๐๕ ๔. ร้อยละของผู็ป่วยความดันโลหิตสูงที่คุมความดันได้ดี ผู้ป่วย ๒๖๑คน ได้วัดความดัน ๒ ครั้ง ในปี ๒๓๗ คุมได้ดี ๑๘๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๗๑.๒๖ ๕. ผู็ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อนทางตา เท้า
ผู็ป่วย ๙๓ คน ได้รับการตรวจ ๕๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๙๐.๓๒

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อและสามมารถดูแลตนเองไม่ให้ป่วยด้วยโรคความดันและเบาหวาน
ตัวชี้วัด : -อัตราป่วย DM,HT รายใหม่ลดลงร้อยละ 5 -กลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ร้อยละ 70 -คัดกรอง HT,DM, ร้อยละ 90
0.00 1.73

ประชากรอายุ 35ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดครองเบาหวานความดัน 784 คน คิดเป็นร้อยละ 92.89 มีผู็ป่วยเบาหวานรายใหม่ จำนวน 4 คน คิดเป็น ร้อลบะ 1.72 ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่จำนวน 1 คน คิดเป้นร้อยละ 1.96

2 ข้อที่ 2 เพื่อให้กลุ่มป่วยปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและป้องกันตัวเองไม่ให้เกิดโรคแทรกซ้อน
ตัวชี้วัด : -ผู้ป่วย DM ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดีมากกว่าร้อยละ40 -ผู้ป่วยHT ควบคุมความดันโลหิตสูงมากกว่าร้อยละ50 -ผู้ป่วย DM ได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อน ตา ไต เท้า ร้อยละ 100
0.00 15.05

ผู้ป่วยโรคเบาหวานจำนวน 68 คน คุมน้ำตาลได้ดีจำนวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 15.05
ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 261 คน คุมระดับความดันโลหิตได้ดีจำนวน 186 ราย คิดเป้นร้อยละ 71.26

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150 150
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50 50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 0
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อและสามมารถดูแลตนเองไม่ให้ป่วยด้วยโรคความดันและเบาหวาน (2) ข้อที่ 2 เพื่อให้กลุ่มป่วยปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและป้องกันตัวเองไม่ให้เกิดโรคแทรกซ้อน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. ส่งเสริมการเข้าถึงบริการของประชาชน 35 ปี ขึ้นไปในการคัดกรองโรคเบาหวาน,ความดันโลหิตสูง -วัดความดันโลหิต -ตรวจน้ำตาลปลายนิ้ว (2) 2.การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3อ 2ส ในกลุ่มเสี่ยงที่มีรอบเอวเกินมาตรฐาน (3) 3. การดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคเรื้อรังเพื่อลดภาวะแทรกซ้อน (4) ตรวจคัดกรองความเสี่ยงในผู้ป่วยโรคเบาหวาน( ตา ไต เท้า)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...ควรมีการดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่องเพื่อการปรับเปลียนพฤติกรรมที่ยั่งยืน เห็นผลชัดเจนต่อไป

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ชุมชนร่วมใจต้านภัยโรคไม่ติดต่อแบบยั่งยืน ปี62 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-L5295-1-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสะบัน สำนักพงศ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด