กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าแก่บ่อหิน


“ โครงการส่งเสริมป้องกันโรคไม่ติดต่อในชุมชน ปี ๒๕๖๒ ”

ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายประชา หนูหมาด

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมป้องกันโรคไม่ติดต่อในชุมชน ปี ๒๕๖๒

ที่อยู่ ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-L5295-1-06 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 เมษายน 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมป้องกันโรคไม่ติดต่อในชุมชน ปี ๒๕๖๒ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าแก่บ่อหิน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมป้องกันโรคไม่ติดต่อในชุมชน ปี ๒๕๖๒



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ ๑.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อ (2) ข้อที่ ๒.เพื่อให้ผู้ป่วยปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและป้องกันตัวเองไม่ให้เกิดโรคแทรกซ้อน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ๑.การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ใน กลุ่มเสี่ยง (2) ๒.การดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคเรื้อรังเพื่อลดภาวะแทรกซ้อน (3) ๓.อบรมเรื่องมะเร็งปากมดลูก,มะเร็งเต้านม และตรวจคัดกรองมะเร็ง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...ระยะเวลาดำเนินกิจกรรมค่อนข้างล่าช้าเนื่องจากกิจกรรมในการดำเนินการหลายกิจกรรม กับภารกิจที่หลากหลาย ทำให้การดำพเนินกิจกรรมล่าช้า

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์โรคไม่ติดต่อของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเขาแดง(เดือน ตุลาคม ๒๕๕๙ –มกราคม ๒๕๖๑)พบว่าผู้ป่วยโรคเบาหวาน จำนวน ๓๖ราย โรคความดันโลหิตสูง๖๔ราย ซึ่งพบว่าทั้งโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง มีอัตราป่วยค่อนข้างสูง สาเหตุการเกิดโรคส่วนใหญ่เกิดจากพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสม ขาดการออกกำลังกาย พบมากในคนที่อายุ ๔๐ ปีขึ้นไป ส่วนน้อยที่เกิดจากกรรมพันธุ์ กลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเขาแดง ได้เล็งเห็นความสำคัญของการให้ความรู้ การค้นหาผู้ป่วย และการป้องกันภาวะแทรกซ้อนของโรค โดยเน้นการมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาจากโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง มะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านม มุ่งเน้นฝึกทักษะการดูแลตนเองของผู้ป่วยร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ญาติผู้ป่วย และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) โดยได้รวมกลุ่มเพื่อจัดตั้งเป็นชมรมผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเขาแดง ตำบลป่าแก่บ่อหิน ขึ้นในปีงบประมาณ ๒๕๖๑       ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเขาแดง ตระหนักถึงปัญหาและเล็งเห็นความสำคัญของการป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิต และการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านม เนื่องจากสามารถป้องกันและรักษาได้ หากตรวจพบในระยะเริ่มแรก จึงได้จัดทำโครงการขึ้นโดยดึงพลังแกนนำ ของประชาชนทุกภาคส่วน เช่น อสม. กลุ่มสตรี กลุ่มสามี ร่วมดำเนินงานโดยมุ่งหวังความสำเร็จให้สุขภาพของประชาชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ ๑.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อ
  2. ข้อที่ ๒.เพื่อให้ผู้ป่วยปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและป้องกันตัวเองไม่ให้เกิดโรคแทรกซ้อน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ๑.การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ใน กลุ่มเสี่ยง
  2. ๒.การดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคเรื้อรังเพื่อลดภาวะแทรกซ้อน
  3. ๓.อบรมเรื่องมะเร็งปากมดลูก,มะเร็งเต้านม และตรวจคัดกรองมะเร็ง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑.กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเรื้อรังได้รับความรู้ในปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ๒.กลุ่มป่วยโรคเรื้อรังมีความรู้ในการดูแลตนเองและลดภาวะแทรกซ้อน ๓.สตรีอายุ ๓๐-๗๐ ปีได้รับความรู้เรื่องการตรวจเต้านมด้วยตนเอง และสามารถตรวจด้วยตนเองได้ถูกต้อง ๔.สตรีอายุ ๓๐-๖๐ ปีได้รับความรู้และได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก ๕.อสม.และแกนนำ มีความรู้ในการคัดกรองโรคเรื้อรังเบื้องต้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ๓.อบรมเรื่องมะเร็งปากมดลูก,มะเร็งเต้านม และตรวจคัดกรองมะเร็ง

วันที่ 6 พฤศจิกายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให่้ความรู้มะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คัดกรองมะเร็งปากมดลูกร้อยละ ๖๕

 

0 0

2. ๑.การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ใน กลุ่มเสี่ยง

วันที่ 23 ธันวาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม อบรมใไห้ความรู้การประเมินตนเอง ปิงปอง๗ สี
อบรมให้ความรู้และฝึคกปฏิบัติการคำนวน BMI

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมร้อยละ ๕๕

 

100 0

3. ๒.การดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคเรื้อรังเพื่อลดภาวะแทรกซ้อน

วันที่ 8 มกราคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้การป้องกันภาวะแทรกซ้อนโรคเรื้อรัง สาธิตเมนูอาหารสุขภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู็ป่วยโรคเบาหวานควบคุมระดับน้ำตจาลได้ดีร้อยละ ๓๕ ผู็ป่วยโรคความดันโลหิตสูงคุมระดับความดันโลหิตได้ร้อยละ ๔๕

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

อัตราป่วยโรคเบาหวานความดันโลหิตสูงรายใหม่พบ ๑๒ ราย กลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมร้อยละ ๕๕ คัดกกรองมะเร็งปากมดลูกได้ ร้อยละ ๖๕ คัดกรองเบาหวาน ความดันได้ ๙๘.๑๖ มะเร็งเต้านม ๘๖.๒๕ ผู้ป่วยเบาหวานควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี ร้อยละ ๓๕ ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ควบคุมความดันโลหิตร้อยละ ๔๕

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ ๑.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อ
ตัวชี้วัด : ๑.อัตราป่วย DM,HT รายใหม่ลดลงร้อยละ ๕ ๒.กลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ร้อยละ ๗๐ ๓.คัดกรอง DM,HT มะเร็งเต้านม ร้อยละ ๙๐ ๔.คัดกรองมะเร็งปากมดลูกร้อยละ ๖๐
0.00 1.00

อัตราป่วยโรคเบาหวานความดันโลหิตสูงรายใหม่พบ ๑๒ ราย กลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมร้อยละ ๕๕ คัดกกรองมะเร็งปากมดลูกได้ ร้อยละ ๖๕

2 ข้อที่ ๒.เพื่อให้ผู้ป่วยปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและป้องกันตัวเองไม่ให้เกิดโรคแทรกซ้อน
ตัวชี้วัด : ๑.ผู้ป่วย DM ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดีมากกว่าร้อยละ ๔๐ ๒.ผู้ป่วย HT ควบคุมความดันโลหิตสูงมากกว่า ร้อยละ ๕๐
0.00 98.16

คัดกรองเบาหวาน ความดันได้ ๙๘.๑๖ มะเร็งเต้านม ๘๖.๒๕ คัดกรองมะเร็งปากมดลูกได้ ร้อยละ ๖๕ ผู็ป่วยเบาหวานควบคุมระดับน้ำตาลได้ดีร้อยละ ๓๕ ผู็ป่วยความดันโลหิตสูงร้อยละ ๔๕

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150 150
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50 50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 0

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ ๑.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อ (2) ข้อที่ ๒.เพื่อให้ผู้ป่วยปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและป้องกันตัวเองไม่ให้เกิดโรคแทรกซ้อน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ๑.การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ใน กลุ่มเสี่ยง (2) ๒.การดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคเรื้อรังเพื่อลดภาวะแทรกซ้อน (3) ๓.อบรมเรื่องมะเร็งปากมดลูก,มะเร็งเต้านม และตรวจคัดกรองมะเร็ง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...ระยะเวลาดำเนินกิจกรรมค่อนข้างล่าช้าเนื่องจากกิจกรรมในการดำเนินการหลายกิจกรรม กับภารกิจที่หลากหลาย ทำให้การดำพเนินกิจกรรมล่าช้า

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมป้องกันโรคไม่ติดต่อในชุมชน ปี ๒๕๖๒ จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-L5295-1-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายประชา หนูหมาด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด