กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา


“ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์ การแพทย์แผนไทย สำหรับนักเรียนโรงเรียนธรรมวิทยามูลนิธิ ยะลา ”

ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวนูรมา ดือราแม ประธานนักเรียนหญิงชมรมธนาคารขยะโรงเรียนธรรมวิทยามูลนิธิ

ชื่อโครงการ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์ การแพทย์แผนไทย สำหรับนักเรียนโรงเรียนธรรมวิทยามูลนิธิ ยะลา

ที่อยู่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61 – L7452 – 2 – 14 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 19 มีนาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์ การแพทย์แผนไทย สำหรับนักเรียนโรงเรียนธรรมวิทยามูลนิธิ ยะลา จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์ การแพทย์แผนไทย สำหรับนักเรียนโรงเรียนธรรมวิทยามูลนิธิ ยะลา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์ การแพทย์แผนไทย สำหรับนักเรียนโรงเรียนธรรมวิทยามูลนิธิ ยะลา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 61 – L7452 – 2 – 14 ระยะเวลาการดำเนินงาน 19 มีนาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,800.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก เป็นศาสตร์ที่ได้รับความสนใจ โดยเฉพาะแนวคิดการดูแล สุขภาพตนเองด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย เพื่อให้ประชาชนทุกคนมีสุขภาพดี ควรคำนึงถึงการปรับวิถีชีวอตในพฤติกรรมต่าง ๆ ตามแบบแผนการใช้ชีวิตประจำวัน อันจะส่งผลต่อการ ป้องกันไม่ให้เกิดการเจ็บป่วย และทำให้มีสุขภาพดี พฤติกรรมดังกล่าว ได้แก่ การออกกำลังกาย การพักผ่อน การรับประทานอาหารและการทำงานรวมถึงการดูแลสุขภาพของตนเองเมื่อเจ็บป่วย ถ้าประชาชนสามารถส่งเสริมให้มีการดูแลรักษาตนเอง โดยใช้ยาสมุนไพรหรือการนวดไทย จะสามารถบรรเทาอาการปวดเมื่อยเรื้อรัง สร้างสมดุลการไหลเวียนของร่างกาย ป้องกันโรคเรื้อรังและภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรังได้ ที่สำคัญถ้าสามารถประยุกต์ใช้ ให้เหมาะสมกับบริบทของพื้นที่ ก็ยิ่งจะช่วยลดต้นทุนการผลิตและประหยัดค่าใช้จ่ายในการให้บริการของสถานบริการ ยังเป็นผลดีและจะทำให้ประหยัดร่ายจ่ายและเป็นการพึ่งตนเองได้ด้วย การใช้สมุนไพร เป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิตของคนไทยมาเป็นเวลานาน เนื่องจากคนไทยสมัยก่อนมีการพึ่งตนเองในด้านการรักษาพยาบาลสูง ด้วยเหตุที่ในสมัยก่อนยังไม่มีสถานบริการด้านสาธารณสุขทีบริการประชาชนอย่างทั่วถึงเหมือนในปัจจุบันเมื่อเกิดการเจ็บป่วยขึ้นใน จึงมีการนำสมุนไพรมาใช้ในการรักษาพยาบาลเบื้องต้น หรือรักษาพยาบาลกับหมอพื้นบ้านในหมู่บ้านของตนเอง เพื่อบรรเทาอาการเจ็บป่วย โดยอาศัยภูมิปัญญาที่สืบทอดกันมาหลาย ชั่วอายุ ในปัจจุบันประเทศไทยมีความสนใจมาใช้ยาสมุนไพรและการแพทย์แผนไทยมากขึ้น เช่นการรักษา โรคไข้หวัด โรคอุจจาระร่วงสามารถใช้สมุนไพรแทนการใช้ยาปฏิชีวนะได้
จากแนวทางดังกล่าว ทางโรงเรียนได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของศาสตร์การแพทย์แผนไทยที่มีอยู่ในท้องถิ่นและชุมชนที่นักเรียนสามารถนำมาใช้ประโยชน์จึงได้ทำการสำรวจนักเรียน จำนวน 6,000 คน ที่ให้ความสนใจในด้านสมุนไพร พบว่ามีนักเรียนที่ให้ความสนใจด้านสมุนไพรมากที่สุด ร้อยละ 3.33รองลงมามีความสนใจด้านสมุนไพรปานกลาง ร้อยละ 1.88 และมีความสนใจด้านสมุนไพรน้อยร้อยละ 1.48 ดังนั้นเพื่อเป็นการส่งเสริมความรู้ ให้กับนักเรียนที่มีความสนใจด้านสมุนไพรมากที่สุด เพื่อให้ได้ประโยชน์สูงสุดจากสมุนไพรที่สามารถหาได้ มาใช้ในชีวิตประจำวัน ทางโรงเรียนธรรมวิทยามูลนิธิจึงมีความ จึงได้จัดโครงการนี้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1 เพื่อส่งเสริมความรู้ศาสตร์การแพทย์แผนไทยในการดูแลสุขภาพ
  2. ข้อที่ 2 ผู้เข้ารับอบรมมีความพึงพอใจของการจัดกิจกรรมผ่านงบ สนับสนุนของกองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 จัดประชุมชี้แจงเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ร่วมกับคณะอาจารย์ และนักเรียน นักศึกษาแกนนำ จำนวน 20 คน
  2. กิจกรรมที่ 2 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ นักเรียนจำนวน 100 คน และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องจำนวน 10 คน รวมทั้งสิ้น 110 คน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 200
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. มีความรู้และทักษะการดูแลสุขภาพป้องกันการเจ็บป่วยด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย
  2. ส่งเสริมภูมิปัญญาการใช้สมุนไพรให้เป็นทางเลือกในการดูแลสุขภาพเบื้องต้น ลดปริมาณการใช้ยาแผนปัจจุบัน
  3. สามารถนวดผ่อนคลายความตึงเครียดของร่างกาย เกิดความรักความอบอุ่นในครอบครัว จากการเอาใจใส่ดูแลต่อกัน และใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 เพื่อส่งเสริมความรู้ศาสตร์การแพทย์แผนไทยในการดูแลสุขภาพ
ตัวชี้วัด : 1. ผู้เข้าอบรมมีความรู้ศาสตร์การแพทย์แผนไทย ในการดูแลสุขภาพได้ร้อยละ 80
0.00

 

2 ข้อที่ 2 ผู้เข้ารับอบรมมีความพึงพอใจของการจัดกิจกรรมผ่านงบ สนับสนุนของกองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา
ตัวชี้วัด : 2.ร้อยละของผู้เข้ารับอบรมมีความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 200
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อส่งเสริมความรู้ศาสตร์การแพทย์แผนไทยในการดูแลสุขภาพ (2) ข้อที่ 2  ผู้เข้ารับอบรมมีความพึงพอใจของการจัดกิจกรรมผ่านงบ สนับสนุนของกองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 จัดประชุมชี้แจงเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ร่วมกับคณะอาจารย์ และนักเรียน  นักศึกษาแกนนำ จำนวน  20  คน (2) กิจกรรมที่ 2 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ นักเรียนจำนวน 100 คน และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องจำนวน 10 คน รวมทั้งสิ้น 110 คน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์ การแพทย์แผนไทย สำหรับนักเรียนโรงเรียนธรรมวิทยามูลนิธิ ยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61 – L7452 – 2 – 14

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวนูรมา ดือราแม ประธานนักเรียนหญิงชมรมธนาคารขยะโรงเรียนธรรมวิทยามูลนิธิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด