กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา


“ โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตสร้างสุขสูงวัยอย่างมีคุณค่า ”

ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางณภัทร โนวัฒน์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตสร้างสุขสูงวัยอย่างมีคุณค่า

ที่อยู่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61 – L7452 – 3 - 1 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 19 มีนาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตสร้างสุขสูงวัยอย่างมีคุณค่า จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตสร้างสุขสูงวัยอย่างมีคุณค่า



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตสร้างสุขสูงวัยอย่างมีคุณค่า " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 61 – L7452 – 3 - 1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 19 มีนาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 330,300.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ผู้สูงอายุเป็นบุคคล ที่สถาบันครอบครัวไทยให้การเคารพยกย่องมากที่สุด เพราะเป็นบุคคลที่มีประสบการณ์ในชีวิตสูงเป็นผู้ถ่ายทอดความสามารถ ประเพณี วัฒนธรรมและค้ำจุนจิตใจ ให้แก่บุคคลในครอบครัว ชุมชน และสังคมได้อย่างต่อเนื่องมาโดยตลอด แต่ผู้สูงอายุที่เจ็บป่วยจะสูญเสียความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวันความสามารถเสื่อมถอยต้องอาศัยญาติและครอบครัวคอยดูแล ทำให้เกิดภาระ โดยเฉพาะค่าใช้จ่ายของครอบครับ ผลกระทบต่อภาวะทุพพลภาพในผู้สูงอายุเกิดจากกระบวนการการสูงวัยและโรคต่าง ๆมากมายทำให้เกิดปัญหา ทั้งด้านสุขภาพทางกาย สุขภาพจิต เศรษฐกิจ และสังคม ปัญหาเกี่ยวกับครอบครัว และปัญหาค่านิยมที่เปลี่ยนแปลง ที่สำคัญเป็นกลุ่มประชากรที่ใช้บริการสุขภาพสูงกว่าวัยอื่น ๆ และจะต้องใช้จ่ายงบประมาณของประเทศในด้านการรักษาพยาบาลสูง จากสถิติพบว่าปี 2561 ผู้สูงอายุในเขตเทศบาลนครยะลา ตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป จำนวนทั้งสิ้น 8,486 คน คิดเป็นร้อยละ 13.93 สามารถแบ่งกลุ่มผู้สูงอายุออกเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้ กลุ่มที่1 ติดสังคม จำนวน 8,363 คน คิดเป็นร้อยละ 98.55 กลุ่มที่ 2 ติดบ้าน จำนวน 69 คน คิดเป็นร้อยละ 0.64 กลุ่มที่ 3 ติดเตียง จำนวน 54 คน คิดเป็น ร้อยละ 0.63 (ข้อมูล ณ วันที่1 สิงหาคม 2561) และจากคลังข้อมูลสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข ปี 2560 ประชากรอายุ 50 ปีขึ้นไป ในพื้นที่เทศบาลนครยะลา มีการเจ็บป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจขาดเลือด โรคหลอดเลือดสมอง และโรคเรื้อรังทางเดินหายใจ คิดเป็น 9,662.07, 24,702.52, 809.14, 1,261.30 และ 333.17 ต่อแสนประชากรตามลำดับ การเตรียมความพร้อมประชาชนในกลุ่มนี้ ให้มีความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเอง เข้าสู่วัยผู้สูงอายุให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี อาศัยการสร้างเสริมสุขภาพด้วยการได้รับการพัฒนาด้านสุขภาพกาย จิตใจ และสังคม โดยเฉพาะการได้รับความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพ และการออกกำลังกายอย่างถูกต้องและสม่ำเสมอ สามารถป้องกันและแก้ไขภาวะผิดปกติที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะโรคหัวใจและหลอดเลือด โรคระบบกล้ามเนื้อและกระดูก ปัญหาสุขภาพร่างกาย รวมทั้งปัญหาสุขภาพจิต ช่วยให้อายุยืนยาวขึ้น และมีสุขภาพที่แข็งแรงสมบูรณ์แข็งแรง อย่างไรก็ตามการมารับความรู้ในโรงเรียนผู้สูงวัย พร้อมกับการออกกำลังกายนี้จำเป็นต้องจัดให้เหมาะสมกับร่างกาย เช่น เพศ และความแข็งแรงที่มีอยู่ เนื่องจากการออกกำลังกายมากเกินไป หรือหักโหมจะก่อให้เกิดอันตรายแก่ร่างกายได้ การออกกำลังกายเป็นประจำจึงเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับผู้สูงอายุ เพราะนอกจากจะช่วยป้องกันการเสื่อมโทรมของร่างกายแล้วยังสามารถแก้ไขความเสื่อมโทรมที่เกิดขึ้นแล้วได้ด้วยการออกกำลังกาย ดังนั้น เทศบาลนครยะลา จึงจัดทำโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตสร้างสุขสูงวัยอย่างมีคุณค่า เพื่อให้การดำเนินงานด้านส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ สอดคล้องกับแนวทางดังกล่าว รวมทั้งเพื่อเป็นการส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้สูงอายุในพื้นที่ได้รับการดูแลอย่างทั่วถึง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพความรู้แก่แกนนำผู้สูงอายุทั้ง 40 ชุมชน ในเรื่องการเขียนโครงการเกี่ยวกับผู้สูงอายุ
  2. 2. เพื่อส่งเสริมและเตรียมความพร้อมประชาชนให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพ เพื่อเข้าสู่วัยผู้สูงอายุอย่างมีคุณค่า
  3. 3.เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพอนามัยที่พึ่งประสงค์ สามารถดูแลตนเองได้
  4. 4. เพื่อเสริมสร้างศักยภาพ คุณค่าภูมิปัญญาผู้สูงอายุ ให้ดำรงสืบไป
  5. 5. เพื่อเสริมสร้างสุขภาพที่ดีของผู้สูงอายุทางด้านร่างกายและจิตใจ
  6. 6. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุสร้างสรรค์ประโยชน์แก่ชุมชนและสังคม
  7. 7.เพื่อใช้ในการตรวจสุขภาพทางกายให้กับผู้ป่วยที่มีภาวะพึ่งพิงทุกกลุ่มวัย ทุกสิทธิ ในเขตเทศบาลนครยะลา

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 การประชุมชี้แจงการดำเนินโครงการ เป้าหมาย คณะกรรมการศูนย์ฯ และผู้ที่เกี่ยวข้อง จำนวน 35 คน
  2. กิจกรรมที่ 2 จัดอบรมพัฒนาศักยภาพแกนนำผู้สูงอายุในชุมชน จำนวน 2 วัน เป้าหมาย แกนนำผู้สูงอายุในชุมชน เขตเทศบาลนครยะลา และเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง จำนวน 100 คน
  3. กิจกรรมที่ 3 จัดอบรมให้ความรู้ในการเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่วัยผู้สูงอายุอย่างมีคุณภาพ เป้าหมาย ประชาชนในเขตเทศบาลนครยะลา ที่มีอายุ 55 ปีขึ้นไป จำนวน 300 คน
  4. กิจกรรมที่ 4 จัดอบรมพัฒนาคุณภาพชีวิตสมาชิกศูนย์ฯ จำนวน 50 คน และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง จำนวน 10 คน รวม 60 คน
  5. กิจกรรมที่ 5 การตรวจประเมินสุขภาพผู้สูงอายุติดสังคม ผู้ป่วยติดบ้านตอนปลาย และผู้ป่วยติดเตียง
  6. กิจกรรมที่ 6 การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพและกายภาพบำบัด แก่ผู้สูงอายุ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 8,486
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ทั้งด้านทางกาย จิตใจ สังคม เศรษฐกิจ
  2. ผู้สูงอายุ/ครอบครัวผู้สูงอายุสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้ตามอัตภาพโดยไม่เป็นภาระของสังคม
  3. ผู้สูงอายุได้รับการดูแลและเอาใจใส่จากชุมชนอย่างเหมาะสม
  4. ผู้สูงอายุรู้สึกว่าไม่ถูกทอดทิ้งและมีกำลังใจในการดำเนินชีวิตต่อไป

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพความรู้แก่แกนนำผู้สูงอายุทั้ง 40 ชุมชน ในเรื่องการเขียนโครงการเกี่ยวกับผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : 1. แกนนำผู้สูงอายุมีความรู้ ในด้านการเขียนโครงการเพิ่มขึ้นร้อยละ 80 (กิจกรรมที่ 2)
0.00

 

2 2. เพื่อส่งเสริมและเตรียมความพร้อมประชาชนให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพ เพื่อเข้าสู่วัยผู้สูงอายุอย่างมีคุณค่า
ตัวชี้วัด : 2. ร้อยละ 80 ของกลุ่มเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่วัย ผู้สูงอายุอย่างมีคุณภาพมีความรู้เพิ่มขึ้นในการดูแลตนเอง (postes)
0.00

 

3 3.เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพอนามัยที่พึ่งประสงค์ สามารถดูแลตนเองได้
ตัวชี้วัด : 3. สมาชิกผู้สูงอายุมีการเข้าร่วมในแต่ละกิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเป้าหมายที่ได้วางไว้ (กิจกรรมที่ 3)
0.00

 

4 4. เพื่อเสริมสร้างศักยภาพ คุณค่าภูมิปัญญาผู้สูงอายุ ให้ดำรงสืบไป
ตัวชี้วัด : 4. สมาชิกศูนย์ฯผู้สูงอายุมีการเข้าร่วมในแต่ละกิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเป้าหมายที่ได้วางไว้
0.00

 

5 5. เพื่อเสริมสร้างสุขภาพที่ดีของผู้สูงอายุทางด้านร่างกายและจิตใจ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

6 6. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุสร้างสรรค์ประโยชน์แก่ชุมชนและสังคม
ตัวชี้วัด : 5. สมาชิกศูนย์ที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 (กิจกรรมที่ 4)
0.00

 

7 7.เพื่อใช้ในการตรวจสุขภาพทางกายให้กับผู้ป่วยที่มีภาวะพึ่งพิงทุกกลุ่มวัย ทุกสิทธิ ในเขตเทศบาลนครยะลา
ตัวชี้วัด : 6. ร้อยละ 100 ผู้ป่วยที่ภาวะพึ่งพิงทุกกลุ่มวัย ทุกสิทธิ ในเขตเทศบาลนครยะลา ได้มีการเยี่ยมบ้าน (กิจกรรมที่ 5)
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 8486
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 8,486
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพความรู้แก่แกนนำผู้สูงอายุทั้ง 40 ชุมชน ในเรื่องการเขียนโครงการเกี่ยวกับผู้สูงอายุ (2) 2. เพื่อส่งเสริมและเตรียมความพร้อมประชาชนให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพ เพื่อเข้าสู่วัยผู้สูงอายุอย่างมีคุณค่า (3) 3.เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพอนามัยที่พึ่งประสงค์ สามารถดูแลตนเองได้ (4) 4. เพื่อเสริมสร้างศักยภาพ คุณค่าภูมิปัญญาผู้สูงอายุ ให้ดำรงสืบไป (5) 5. เพื่อเสริมสร้างสุขภาพที่ดีของผู้สูงอายุทางด้านร่างกายและจิตใจ (6) 6. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุสร้างสรรค์ประโยชน์แก่ชุมชนและสังคม (7) 7.เพื่อใช้ในการตรวจสุขภาพทางกายให้กับผู้ป่วยที่มีภาวะพึ่งพิงทุกกลุ่มวัย ทุกสิทธิ ในเขตเทศบาลนครยะลา

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 การประชุมชี้แจงการดำเนินโครงการ เป้าหมาย คณะกรรมการศูนย์ฯ และผู้ที่เกี่ยวข้อง จำนวน 35 คน (2) กิจกรรมที่ 2 จัดอบรมพัฒนาศักยภาพแกนนำผู้สูงอายุในชุมชน จำนวน 2 วัน เป้าหมาย แกนนำผู้สูงอายุในชุมชน เขตเทศบาลนครยะลา และเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง จำนวน 100 คน (3) กิจกรรมที่ 3 จัดอบรมให้ความรู้ในการเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่วัยผู้สูงอายุอย่างมีคุณภาพ  เป้าหมาย ประชาชนในเขตเทศบาลนครยะลา ที่มีอายุ 55 ปีขึ้นไป  จำนวน 300 คน (4) กิจกรรมที่ 4 จัดอบรมพัฒนาคุณภาพชีวิตสมาชิกศูนย์ฯ จำนวน 50 คน  และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง จำนวน    10 คน รวม 60 คน (5) กิจกรรมที่ 5 การตรวจประเมินสุขภาพผู้สูงอายุติดสังคม ผู้ป่วยติดบ้านตอนปลาย และผู้ป่วยติดเตียง (6) กิจกรรมที่ 6 การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพและกายภาพบำบัด แก่ผู้สูงอายุ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตสร้างสุขสูงวัยอย่างมีคุณค่า จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61 – L7452 – 3 - 1

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางณภัทร โนวัฒน์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด