กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน


“ โครงการรณรงค์โรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะในชุมชน ปีงบประมาณ 2562 ”

ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายซอหมาด บาหลัง

ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์โรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะในชุมชน ปีงบประมาณ 2562

ที่อยู่ ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-L8406-01-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์โรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะในชุมชน ปีงบประมาณ 2562 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์โรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะในชุมชน ปีงบประมาณ 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์โรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะในชุมชน ปีงบประมาณ 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 62-L8406-01-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 33,150.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะ เช่น โรคไข้เลือดออก โรคชิคุนกุนย่า โรคมาลาเรีย นับเป็นปัญหาสาธารณสุขไทยตลอดมา เพราะเป็นโรคติดต่อที่สร้างความสูญเสียชีวิตและค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและความความสูญเสียทาง ด้านเศรษฐกิจของประเทศ ทั้งที่ทุกฝ่ายได้ช่วยกันรณรงค์ป้องกันและควบคุมมาโดยตลอดและได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน พบว่าปัญหาโรคไม่ได้ลดลงมากนัก ยังคงเป็นปัญหาสำคัญในระดับประเทศเรื่อยมา ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล เป็นอีกพื้นที่หนึ่งที่มีปัญหาการระบาดของโรคไข้เลือดออกมาอย่างต่อเนื่อง จากข้อมูล รง. 506 ของงานระบาดวิทยา โรงพยาบาลควนโดน ได้รายงานสถานการณ์โรคไข้เลือดออก ในปี 2559 พบผู้ป่วยจำนวน 103 ราย คิดเป็นอัตราป่วยเท่ากับ 1047.46 ต่อประชากรแสนคน ปี 2560 พบผู้ป่วยจำนวน 15 ราย คิดเป็นอัตราป่วยเท่ากับ 159.32 ต่อประชากรแสนคน และปี 2561 พบผู้ป่วยจำนวน 48 ราย คิดเป็นอัตราป่วยเท่ากับ 564.70 แต่ยังไม่มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต โดยพบเพศหญิงมากกว่าเพศชาย และกลุ่มอายุที่พบสูงสุดคือ 5-9 ปี, 35-44 ปี และ 65 ปีขึ้นไปตามลำดับ พบผู้ป่วยสูงที่สุดในเดือน กรกฎาคม – สิงหาคม หมู่บ้านที่พบผู้ป่วยสูงสุดคือ หมู่ 2 หมู่ 4 และหมู่ 1 ตามลำดับ และเนื่องจากปี 2561 พบการระบาดของโรคชิคุนกุนยา หรือโรคไข้ปวดข้อ ซึ่งเป็นโรคติดเชื้อไวรัสชิคุนกุนยาที่มียุงลายเป็นพาหะนำโรค พบผู้ป่วยจำนวน 64 ราย ซึ่งเป็นผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลควนโดน จากผลการดำเนินงานโครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อที่เป็นปัญหาในชุมชน ปี 2560 พบว่าดัชนีลูกน้ำยุงลายที่ได้สุ่มสำรวจ โดยคณะกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้ง สำรวจ 4 ครั้ง ทั้งหมด 8 หมู่บ้าน โดยครั้งที่ 4 พบหมู่บ้านที่ผ่านเกณฑ์ ค่า HI ต่ำกว่า 10 ตามเกณฑ์มาตรฐาน ทั้งหมด 7 หมู่บ้าน และยังมีอีก 1 หมู่ที่ยังมีค่า HI สูงกว่า 10 คือ หมู่ที่ 8 ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 87.5 ของหมู่บ้านทั้งหมด และจากผลการสำรวจลูกน้ำยุงลาย ในสถานที่ราชการ โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และ มัสยิด จำนวน 12 แห่ง พบว่า มีค่า CI = 0 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานที่กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนด
    เมื่อพิจารณาปัจจัยที่ทำให้เกิดโรคที่สำคัญที่สุด คือ ความตระหนักของประชาชนในการมีสุขลักษณะส่วนบุคคล ความตระหนักและความเอาใจใส่ในการร่วมรับผิดชอบสิ่งแวดล้อมที่ดีในชุมชน ความร่วมมือกันของประชาชนทุกครัวเรือนในชุมชนยังไม่จริงจังและขาดความต่อเนื่อง และการมีส่วนร่วมของเครือข่ายและชุมชนในการป้องกันควบคุมโรคยังไม่มีความชัดเจน โดยยุทธศาสตร์การดำเนินงานควบคุมและป้องกันโรคที่มียุงเป็นพาหะ ที่สำคัญประการหนึ่งคือการควบคุมลูกน้ำยุงลาย ดัชนีลูกน้ำยุงลายจะต้องไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน การควบคุมลูกน้ำยุงลายให้ได้ผล ต้องอาศัยความร่วมมือร่วมใจจากประชาชนในแต่ละหมู่บ้าน โรงเรียน ดำเนินการกำจัดลูกน้ำยุงลายทุกหลังคาเรือนอย่างต่อเนื่อง ทำให้เกิดการปรับเปลี่ยนแนวคิดในการแก้ไขปัญหา จากการตั้งรับไปสู่นโยบายเชิงรุกโดยใช้ยุทธศาสตร์การมีส่วนร่วมให้คนในชุมชนได้ตระหนักถึงสภาพปัญหาของโรคไข้เลือดออกและโรคชิคุนกุนยา เกิดความรับผิดชอบต่อปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนของตนเอง พร้อมทั้งหาวิธีการแก้ไข ซึ่งปัญหาของโรคที่มียุงเป็นพาหะเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อม ดังนั้น การดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรค จึงต้องปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของโรคที่เปลี่ยนแปลงไป โดยเน้นให้ประชาชนเห็นความสำคัญและถือเป็นภารกิจที่ต้องช่วยกัน กระตุ้นและชักนำให้ประชาชน องค์กรชุมชน ตลอดจนเครือข่ายสุขภาพให้มีส่วนร่วมอย่างจริงจังและต่อเนื่อง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลควนโดน จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์โรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะในชุมชน ปีงบประมาณ 2562 โดยมีเป้าหมายหลักเพื่อลดอัตราป่วยของโรคไข้เลือดออกและโรคชิคุนกุนยาลงให้เหลือน้อยที่สุด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อลดค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้าน (H.I.) ไม่เกิน 10 อย่างน้อยร้อยละ ๘๐ ของหมู่บ้านในเขตรับผิดชอบ
  2. 2. เพื่อลดค่าดัชนีลูกน้ายุงลายในโรงเรียน (C.I.) เป็น ๐ ร้อยละ ๑๐๐ ของโรงเรียน ในเขตรับผิดชอบ
  3. 3. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ที่ถูกต้องในเรื่องโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะและโรคติดต่ออื่นๆ
  4. 4. เพื่อสร้างสิ่งแวดล้อมปลอดจากขยะและแหล่งแพร่กระจายโรคในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะและโรคติดต่ออื่นๆ และแต่งตั้งทีมหนูน้อย พิชิตยุงแก่เด็กนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3-6 ในโรงเรียนที่อยู่ในเขตรับผิดชอบ อบต. ควนโดน จำนวน 3 แห่ง
  2. 2. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้และถ่ายทอดการผลิตสมุนไพรไล่ยุง ให้แก่กลุ่มแกนนำ อาสาสมัครสาธารณสุข และประชาชนที่สนใจ
  3. 3. กิจกรรมรณรงค์ปรับปรุงศาสนสถาน โรงเรียน และในชุมชน
  4. 4. กิจกรรมออกสุ่มตรวจลูกน้ำยุงลายในพื้นที่

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 215
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียนมีความรู้ที่ถูกต้องในเรื่องโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะและโรคติดต่ออื่นๆ หลังการอบรม มากกว่า  ร้อยละ 80
  2. ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้าน (ค่า HI) ไม่เกิน 10 อย่างน้อยร้อยละ 80 ของหมู่บ้านในเขตรับผิดชอบ
  3. ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในโรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และมัสยิด (CI) เป็น ๐ ร้อยละ ๑๐๐ ของโรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และมัสยิด ในเขตรับผิดชอบ
  4. ชุมชน ศาสนสถาน และในโรงเรียน มีสภาพแวดล้อมที่สะอาด ปลอดภัยจากโรคที่มียุงเป็นพาหะนำโรค และปลอดจากขยะและแหล่งแพร่กระจายโรคในชุมชน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อลดค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้าน (H.I.) ไม่เกิน 10 อย่างน้อยร้อยละ ๘๐ ของหมู่บ้านในเขตรับผิดชอบ
ตัวชี้วัด : ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้าน (H.I.) ไม่เกิน 10 อย่างน้อยร้อยละ ๘๐ ของหมู่บ้านในเขตรับผิดชอบ
0.00

 

2 2. เพื่อลดค่าดัชนีลูกน้ายุงลายในโรงเรียน (C.I.) เป็น ๐ ร้อยละ ๑๐๐ ของโรงเรียน ในเขตรับผิดชอบ
ตัวชี้วัด : ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในโรงเรียน (C.I.) เป็น ๐ ร้อยละ ๑๐๐ ของโรงเรียน ในเขตรับผิดชอบ
0.00

 

3 3. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ที่ถูกต้องในเรื่องโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะและโรคติดต่ออื่นๆ
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีความรู้ที่ถูกต้องในเรื่องโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะและโรคติดต่ออื่นๆ หลังการอบรม มากกว่าร้อยละ 80
0.00

 

4 4. เพื่อสร้างสิ่งแวดล้อมปลอดจากขยะและแหล่งแพร่กระจายโรคในชุมชน
ตัวชี้วัด : จำนวนหลังคาเรือนที่เข้าร่วมโครงการ มากกว่าร้อยละ 70
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 215
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 215
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อลดค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้าน (H.I.) ไม่เกิน 10 อย่างน้อยร้อยละ ๘๐ ของหมู่บ้านในเขตรับผิดชอบ (2) 2. เพื่อลดค่าดัชนีลูกน้ายุงลายในโรงเรียน (C.I.) เป็น ๐ ร้อยละ ๑๐๐ ของโรงเรียน ในเขตรับผิดชอบ (3) 3. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ที่ถูกต้องในเรื่องโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะและโรคติดต่ออื่นๆ (4) 4. เพื่อสร้างสิ่งแวดล้อมปลอดจากขยะและแหล่งแพร่กระจายโรคในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะและโรคติดต่ออื่นๆ และแต่งตั้งทีมหนูน้อย พิชิตยุงแก่เด็กนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3-6 ในโรงเรียนที่อยู่ในเขตรับผิดชอบ อบต. ควนโดน จำนวน 3 แห่ง (2) 2. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้และถ่ายทอดการผลิตสมุนไพรไล่ยุง ให้แก่กลุ่มแกนนำ อาสาสมัครสาธารณสุข และประชาชนที่สนใจ (3) 3. กิจกรรมรณรงค์ปรับปรุงศาสนสถาน โรงเรียน และในชุมชน (4) 4. กิจกรรมออกสุ่มตรวจลูกน้ำยุงลายในพื้นที่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรณรงค์โรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะในชุมชน ปีงบประมาณ 2562 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-L8406-01-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายซอหมาด บาหลัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด