กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพต้านภัยยาเสพติด
รหัสโครงการ 62-L5178-2-07
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ คณะกรรมการโรงเรียนบ้านเขาจันทร์
วันที่อนุมัติ 26 กรกฎาคม 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กันยายน 2562 - 31 ธันวาคม 2562
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 20,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ คณะกรรมการโรงเรียนบ้านเขาจันทร์
พี่เลี้ยงโครงการ นายปริญญา ถีระวุฒิ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลจะโหนง อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานสิ่งเสพติด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มวัยทำงาน 30 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนผู้เสพรายใหม่วัยเด็กและเยาวชนอายุไม่เกิน 25 ปี(คน)
10.00
2 จำนวนผู้เสพยาเป็นครั้งคราวในชุมชน(คน)
10.00
3 จำนวนผู้ติดยาเสพติดที่เสพยาอย่างต่อเนื่องจนมีความบกพร่องต่อหน้าที่ในชุมชน(คน)
10.00
4 จำนวนผู้ที่ผ่านการบำบัดและกลับมาใช้ชีวิตเป็นปกติในชุมชน(คน)
10.00
5 จำนวนสถานที่ในชุมชนที่มีแหล่งจำหน่ายและสถานที่มั่วสุม(แห่ง)
10.00
6 จำนวนเหตุการณ์ที่ได้รับผลกระทบจากปัญหายาเสพติดในชุมชน เช่น การเกิดอาชญากรรม การเกิดลักเล็กขโมยน้อย(ครั้ง)
10.00
7 จำนวนคดี การจับกุม และการปราบปรามที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติดในชุมชน(ครั้ง)
12.00
8 กิจกรรมที่ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการควบคุมยาเสพติด ทั้งด้านการป้องกัน การรักษาในระยะเริ่มต้น ถึงการรักษาแบบการถอนพิษยาและการดูแลไม่ให้กลับไปเสพซ้ำ(กิจกรรม)
3.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

จากสถานณ์ปัจจุบัน เด็กและเยาวชนเป็นกลุ่มเสี่ยงต่อการเสพสิ่งเสพติดมากที่สุด ทั้งในและนอกสถานศึกษา เด็กและเยาวชนเ็นวัยที่อยากรู้อยากลอง จึงถูกชักชวนให้ใช้สิ่งเสพติดได้ง่าย จากปัญหาทางด้านเศรษฐกิจ สังคม ความเปลี่ยนแปลงในด้านต่าง ๆ ทำให้คนเกิดอารมณ์เครียด มีปัญหาทางด้านจิตใจ จึงหันไปใช้สิ่งเสพติด เพื่อลดความเครียดขอจิตใจลง การแก้ไขปัญหาการแพร่ระบาดของสิ่งเสพติด จะต้องดำเนินการทั้งมาตรการลดอุปทานของผู้ผลิตและผู้ค้าควบคู่กับการลดอุปสงค์ของผู้เสพ การลดอุปทานของผู้ผลิตและผู้ค้าส่วนใหญ่ จะเป็นเรื่องของการปราบปรามและการจับกุมผู้ผลิตและผู้ค้า ซึ่งเจ้าหน้าที่ตำรวจและชุมชน ได้ร่วมมือกันสอดส่องดูแลอยู่แล้ว ส่วนการลดอุปสงค์ผู้เสพ ก็คือการสอนหรือฝึกให้เด็กมีภูมิคุ้มกันทางด้านจิตใจและสามารถเผชิญกับปัญหาต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม ซึ่งหมายถึงการฝึกทักษะต่าง ๆ เพื่อให้เกิดพฤติกรรมที่เหมาะสมและสิ่งที่เป็นปัจจัยสสำคัญในเรื่องพฤติกรรมคือ ทัศนิคติ ซึ่งจะเห็นว่าแต่เดิมความล้มเหลงของการสอนเพื่อป้องกันเยาวชนไม่ให้ใช้สารเสพติด ส่วนใหญ่เป็นการสอนโดยให้ความรู้เป็นลักษณะการขู่ให้กลัว นอกจากนี้การสอนให้เด็กเกิดเจตคติที่ดี ซึ่งเป็นสิ่งที่ยากมากเนื่องจากเจตคติ หมายถึง ความเชื่อม ความรู้สึก ความคิดที่ได้รับการจัดระบบขึ้นมาของบุคคลนั้ ประกอบการสอนนั้นต้องใช้สื่อที่สร้างจากความรู้สึก มีการจัดระบบความคิดความเชื่อ และถ้าใช้กระบวนการกลุ่มในการสอนจะทำให้เด็กได้แสดงความรู้สึกนึกคิดของตน และได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกันทำให้สามารถแก้ไขปัญหาข้อโต้แย้งได้ และเกิดเจตคติที่ดีที่สุด D.A.R.E. เป็นโครงการที่ทั่วโลกยอมรับ มีประสิทธิภาพในการหยุดยั้งการแพร่ระบาดของยาเสพติดเข้าสู่โรงเรียนอย่างได้ผล หลักการสำคัญของ D.A.R.E. คือการให้ข้อมูลและทักษะที่จำเป็นกับเด็กนักเรียน ที่สามารถใช้ชีวิตโดยปราศจากยาเสพติด และความรุนแรงสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่าง ตำรวจ สาธารณะสุข โรงเรียนครู/อาจารย์ บิดา มารดา ผู้ปกครองและชุมชน โดยเน้น
1. การให้ข้อมูลที่ถูกต้องเกี่ยวกับยาเสพติด/สุรา 2. สอนให้เด็กเกิดทักษะในการตัดสินใจ 3. แสดงให้เด็กเห็นถึงวิธีหลีกเลี่ยงแรงกดดันของกลุ่มเพื่อนวัยรุ่น 4. เสนอทางเลือกอื่นให้กับเด็ก นอกเหนือจากการใช้ยาเสพติด และความรุนแรง โรงเรียนบ้านเขาจันทร์ ได้ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการ ส่งเสริมสุขภาพต้านภัยยาเสพติด

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดจำนวนเหตุการณ์ที่ได้รับผลกระทบจากปัญหายาเสพติดในชุมชน เช่น การเกิดอาชญากรรม การเกิดลักเล็กขโมยน้อย

จำนวนเหตุการณ์ที่ได้รับผลกระทบจากปัญหายาเสพติดในชุมชน เช่น การเกิดอาชญากรรม การเกิดลักเล็กขโมยน้อยลดลงเหลือ(ครั้ง)

10.00 10.00
2 เพื่อลดจำนวนผู้เสพรายใหม่วัยเด็กและเยาวชนอายุไม่เกิน 25 ปี

จำนวนผู้เสพรายใหม่วัยเด็กและเยาวชนอายุไม่เกิน 25 ปี ลดลงเหลือ(คน)

10.00 10.00
3 เพื่อเพิ่มจำนวนผู้ที่ผ่านการบำบัดและกลับมาใช้ชีวิตเป็นปกติในชุมชน

จำนวนผู้ที่ผ่านการบำบัดและกลับมาใช้ชีวิตเป็นปกติในชุมชน เพิ่มขึ้นเป็น(คน)

10.00 10.00
4 เพื่อลดจำนวนผู้เสพยาเป็นครั้งคราวในชุมชน

จำนวนผู้เสพยาเป็นครั้งคราวในชุมชน ลดลงเหลือ(คน)

10.00 10.00
5 เพื่อลดจำนวนผู้ติดยาเสพติดที่เสพยาอย่างต่อเนื่องจนมีความบกพร่องต่อหน้าที่ในชุมชน

จำนวนผู้ติดยาเสพติดที่เสพยาอย่างต่อเนื่องจนมีความบกพร่องต่อหน้าที่ในชุมชน ลดลงเหลือ(คน)

10.00 10.00
6 เพื่อลดจำนวนสถานที่ในชุมชนที่มีแหล่งจำหน่ายและสถานที่มั่วสุม

จำนวนสถานที่ในชุมชนที่มีแหล่งจำหน่ายและสถานที่มั่วสุมลดลงเหลือ(แห่ง)

10.00 10.00
7 เพื่อลดจำนวนคดี การจับกุม และการปราบปรามที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติดในชุมชน

จำนวนคดี การจับกุม และการปราบปรามที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติดในชุมชนลดลงเหลือ(ครั้ง)

12.00 12.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 20,000.00 0 0.00
??/??/???? ฐานการเรียนรู้ต้านภัยยาเสพติด 0 3,850.00 -
??/??/???? กีฬาต้านภัยยาเสพติด 0 16,150.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.นักเรียนโรงเรียนบ้านเขาจันทร์เข้าร่วมกิจกกรมร้อยละ80 2.ไม่มีนักเรียนโรงเรียนบ้านเขาจันทร์เกี่ยวข้องกับยาเสพติด

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 19 เม.ย. 2562 09:41 น.