กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา


“ โครงการส่งเสริมดูแลสุขภาพ ป้องกันโรคทุกกลุ่มวัยแบบองค์รวม พื้นที่ศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลา ”

อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
( นางอรัญญา พรหมวิจิตร ) ตำแหน่ง หัวหน้าศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลา

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมดูแลสุขภาพ ป้องกันโรคทุกกลุ่มวัยแบบองค์รวม พื้นที่ศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลา

ที่อยู่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L7250-01-12 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมดูแลสุขภาพ ป้องกันโรคทุกกลุ่มวัยแบบองค์รวม พื้นที่ศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมดูแลสุขภาพ ป้องกันโรคทุกกลุ่มวัยแบบองค์รวม พื้นที่ศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมดูแลสุขภาพ ป้องกันโรคทุกกลุ่มวัยแบบองค์รวม พื้นที่ศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลา " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L7250-01-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 62,650.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถานการณ์ของประเทศไทย พบการเจ็บป่วยและเสียชีวิตด้วยโรคต่าง ๆ ทั้งโรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อ เป็นปัญหาสาธารณสุขทั้งในระดับประเทศและระดับชุมชน จากการวิเคราะห์ปัญหาสุขภาพของศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลา รพ.สงขลา พบปัญหาที่สำคัญใน  ๖ กลุ่มโรค คือกลุ่มโรคไม่ติดต่อ (เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไตวาย หัวใจและหลอดเลือดสมอง มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก) กลุ่มแม่และเด็ก (หญิงตั้งครรภ์ในวัยรุ่นไม่พร้อม ฝากครรภ์ไม่ได้มาตรฐาน ภาวะซีด ลูกน้ำหนักน้อย) กลุ่มเด็ก ๐ – ๕ ปี (งานภูมิคุ้มกันโรค พัฒนาการเด็ก น้ำหนักน้อย) กลุ่มผู้สูงอายุ (การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุต่อเนื่อง) กลุ่มโรคติดต่อ ไข้เลือดออก อุจจาระร่วง ไทฟอยด์ วัณโรค กลุ่มพิการ-จิตเวช และกลุ่มคุ้มครองผู้บริโภค ซึ่งปัญหาดังกล่าวเกิดจากการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม ขาดการมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพตนเอง ทั้งในระดับบุคคล ครอบครัวและชุมชน
    การดูแลสุขภาพแบบองค์รวมและครบทุกมิติต้องดูแลทุกช่วงวัย ทั้งกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย โดยทีมสาธารณสุข ที่มีความรู้ ชำนาญ การมีส่วนร่วมของแกนนำสาธารณสุขในพื้นที่ ของเทศบาลนครสงขลา และภาคีอื่นๆ เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่รับบริการที่มีคุณภาพมาตรฐาน ให้ได้รับบริการขั้นพื้นฐานของชีวิตเหมาะสมตามกลุ่มวัยอายุ ครบทั้ง๕มิติ มิติด้านส่งเสริมสุขภาพ มิติด้านป้องกันควบคุมโรค มิติด้านรักษาพยาบาล มิติด้านฟื้นฟูสุขภาพ และมิติด้านคุ้มครองผู้บริโภค     ศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลา รพ.สงขลา มีประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบประมาณ ๕,๖๕๐ คน ๒,๒๓๘ ครัวเรือน ซึ่งประชาชนเหล่านี้ต้องได้รับบริการด้านสาธารณสุขทั้งเชิงรุกในชุมชนและเชิงรับในศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลาโดยมีผลงานการให้บริการย้อนหลัง๓ปี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการดูแลปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน
  2. ๒. เพื่อป้องกันประชากรกลุ่มเสี่ยงไม่ให้เกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตรายใหม่
  3. ๓. เพื่อให้ผู้ป่วยเรื้อรังได้รับการดูแลตามมาตรฐานเฉพาะโรคและลดภาวะแทรกซ้อนมีคุณภาพชีวิตที่ดี
  4. ๔ เพื่อป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมองในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
  5. ๕. เพื่อป้องกันการเกิดโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกในกลุ่มหญิงวัยเจริญพันธ์และกลุ่มเป้าหมายที่เสี่ยง
  6. ๖. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลตามมาตรฐานฝากครรภ์คุณภาพ หญิงครรภ์เสี่ยงได้รับการดูแลที่เหมาะสม
  7. ๗. เพื่อให้ร้านอาหารผ่านเกณฑ์มาตรฐาน CFGT ผู้บริโภคปลอดภัย
  8. ๘. เด็กวัย ๐-๖ ปี มีการเจริญเติบโต รับวัคซีนขั้นพื้นฐานและมีพัฒนาการเหมาะสมกับวัย
  9. ๙. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการดูแลสุขภาพทั้งด้านร้างกาย อารมณ์ สังคม อย่างต่อเนื่อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,970
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ประชาชนได้รับบริการสุขภาพมีคุณภาพมาตรฐานแบบองค์รวมมีความพึงพอใจเชื่อมั่นศรัทธาต่อการรับบริการที่ศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลาและมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมสามารถดูแลและพึ่งตนเองได้


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    กิจกรรมที่ 1. งานภาคประชาชน   ประชุมแกนนำสุขภาพแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการส่งเสริมสุขภาพและแก้ไขปัญหาในชุมชน   จำนวน 6 ครั้ง คือวันที่ 27 พ.ค. 2562,21 มิ.ย. 2562, 18 ก.ค.2562 ,8 ส.ค.2562 ,23 สิงหาคม 2562 และ          วันที่ 20 กันยายน 2562   กิจกรรมที่ 2. งานอนามัยแม่และเด็ก 2.1 ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ (มารดาตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยง) จำนวน 4 ครั้ง
      คือวันที่ วันที่ 18 มิ.ย. 2562,23 ก.ค.2562 ,13 ส.ค.2562 และ 3 ก.ย.2562 2.2. ประชุมแกนนำสุขภาพคัดกรองสุขภาพ ติดตามภาวะโภชนาการ พัฒนาการ วัคซีนในชุมชน (ติดตามเยี่ยมส่งเสริมสุขภาพเชิงรุกในชุมชน) จำนวน 6 ครั้ง คือ วันที่ 15 พ.ค. 2562, 30 พ.ค. 2562, 10 มิ.ย. 2562 และ 12 ก.ค. 2562   กิจกรรมที่ 3. งานควบคุมโรคไม่ติดต่อ 3.1. ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและตรวจเต้านมด้วยตนเองในชุมชน จำนวน 7 ชุมชน คือ วันที่
    3.2 ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงสูงเพื่อป้องกันและเฝ้าระวังผู้ป่วยเรื้อรัง   ราย ใหม่  จำนวน3 ครั้ง คือ วันที่ 21 มิ.ย.2562 ,19 ก.ค.2562 และ16 ส.ค.2562 3.3 ประชุมผู้ป่วยชมรมโรคเรื้อรังแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโรคแทรกซ้อน   จำนวน 3 ครั้ง คือ วันที่ 12 มิ.ย. 2562, 26 ก.ค.2562 และ 23 ส.ค.2562 3.4. ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ SHG ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิต จำนวน 6 ครั้ง คือ วันที่ 4 ก.ค. 2562 ,8 ก.ค. 2562 ,11 ก.ค. 2562 ,24 ก.ค. 2562 ,1 ส.ค. 2562 และ 14 ส.ค. 2562 3.5 ประชุมจัดฐานเรียนรู้ 5 สี บอกวิถีโรคแทรกซ้อน (ผู้ป่วยเรื้อรังในพื้นที่ 7 ชุมชน/ผู้เกี่ยวข้อง) วันที่ 10 ก.ค. 2562 3.6 ประชุมคณะทำงาน/แกนนำสุขภาพกิจกรรมประเมินคุณภาพชีวิตผู้ป่วยเรื้อรัง จำนวน 6 ครั้ง คือ วันที่ 2 ก.ค. 2562 ชุมชน ตีนเมรุและศรีสุดา     วันที่ 8 ก.ค. 2562  ชุมชนแหลมสนอ่อน,ชุมชนหลังตำหนักเขาน้อย     วันที่ 9 ก.ค.2562  ชุมชนแหล่งพระราม ,ชุมชนแหลมทราย     วันที่ 11 ก.ค. 2562 ชุมชนไทรงาม ใช้แบบประเมินคุณภาพชีวิตของWHO ผลการประเมิน
    ร้อยละ 94.16 มีคุณภาพชีวิตโดยรวมระดับกลางๆ ร้อยละ 4.17 มีคุณภาพชีวิตที่ดี     กิจกรรมที่ 4 งานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัย         4.1 อบรมให้ความรู้ส่งเสริมสุขภาพชมรมผู้สูงอายุแหลมทราย จำนวน 4 ครั้ง
          คือ วันที่ 12 มิ.ย. 2562 , 24 ก.ค. 2562 ,14 ส.ค. 2562 และ 15 ก.ย. 2562 4.2 อบรมเสริมพลังกลุ่มสูงวัย สร้างสุขภาพจิตแจ่มใส สุขภาพกายแข็งแรง วันที่ 8 กันยายน 2562     กิจกรรมที่ 5 งานคุ้มครองผู้บริโภค ประชุมแกนนำสุขาภิบาลอาหาร ตรวจประเมินร้านอาหารขายของชำ จำนวน 6 วัน
          คือวันที่ 7 มิ.ย.2562 ,13 มิ.ย.2562 ,14 มิ.ย.2562 ,20 มิ.ย.2562 ,27 มิ.ย.2562 ,28 มิ.ย.2562

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ๑. เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการดูแลปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน
    ตัวชี้วัด : ๑.หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลตามมาตรฐาน ไม่มีภาวะแทรกซ้อน/เสียชีวิตขณะตั้งครรภ์จนคลอด
    0.00 0.00

    1.จำนวนหญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่ทั้งหมด ...รายได้รับการดูแลตามมาตรฐาน(ฝากครรภ์5 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ100 และไม่มีภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์

    2 ๒. เพื่อป้องกันประชากรกลุ่มเสี่ยงไม่ให้เกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตรายใหม่
    ตัวชี้วัด : ๒.ร้อยละ๙๐ ของเด็กอายุ ๐-๕ ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์
    90.00 93.33

    2.จำนวนเด็ก 0-5 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์จำนวน 28 ราย/ร้อยละ 93.33

    3 ๓. เพื่อให้ผู้ป่วยเรื้อรังได้รับการดูแลตามมาตรฐานเฉพาะโรคและลดภาวะแทรกซ้อนมีคุณภาพชีวิตที่ดี
    ตัวชี้วัด : ๓.ร้อยละ๙๓ ของเด็กอายุ ๐-๕ ปี พัฒนาการสมวัย
    93.00 97.24

    3.จำนวนเด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 97.24

    4 ๔ เพื่อป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมองในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    ตัวชี้วัด : ๔.ร้อยละ๙๐ ของประชาชน ๓๕ ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองสุขภาพ
    90.00 95.17
    1. ประชาชน 35 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรอง ดังนี้
      • คัดกรองเบาหวาน ร้อยละ92.14
      • คัดกรองความดัน ร้อยละ95.17
    5 ๕. เพื่อป้องกันการเกิดโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกในกลุ่มหญิงวัยเจริญพันธ์และกลุ่มเป้าหมายที่เสี่ยง
    ตัวชี้วัด : ๕.ร้อยละ๘๐ ของกลุ่มเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคเรื้อรังใหม่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
    80.00 100.00

    5.กลุ่มเสี่ยงสูงโรคเรื้อรังได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ร้อยละ100

    6 ๖. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลตามมาตรฐานฝากครรภ์คุณภาพ หญิงครรภ์เสี่ยงได้รับการดูแลที่เหมาะสม
    ตัวชี้วัด : ๖.ร้อยละ๕ ของการเกิดผู้ป่วยเรื้อรังรายใหม่
    5.00 4.16
    1. อัตราการเกิดผู้ป่วยเรื้อรังรายใหม่ DM11 ราย คิดเป็นร้อยละ3.84(ทั้งหมด286) HT13 ราย คิดเป็นร้อยละ 4.16(ทั้งหมด312)
    7 ๗. เพื่อให้ร้านอาหารผ่านเกณฑ์มาตรฐาน CFGT ผู้บริโภคปลอดภัย
    ตัวชี้วัด : ๗.ร้อยละ๙๐ ผู้ป่วยเรื้อรังที่รับบริการที่ PCU ได้รับการดูแลและตรวจตามมาตรฐานเฉพาะโรค
    90.00 100.00
    1. . ผู้ป่วยเรื้อรังที่รับบริการที่ PCU.ได้รับการดูแลและตรวจตามมาตรฐานเฉพาะโรคคิดเป็นร้อยละ100 (จำนวนผู้ป่วยที่รับยาในโครงการ 19 ราย ได้รับการตรวจเลือดทั้งหมด )
    8 ๘. เด็กวัย ๐-๖ ปี มีการเจริญเติบโต รับวัคซีนขั้นพื้นฐานและมีพัฒนาการเหมาะสมกับวัย
    ตัวชี้วัด : ๘.ร้อยละ๕ ผู้ป่วยเรื้อรังเกิดภาวะแทรกซ้อนรายใหม่
    5.00 0.00
    1. . ผู้ป่วยโรคเรื้อรังเกิดภาวะแทรกซ้อนรายใหม่คิดเป็นร้อยละ0.6 /จำนวน5ราย(ทั้งหมด 838 ราย) 9.หญิงอายุ 30-70 ปี สามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองถูกต้องคิดเป็นร้อยละ 52.71
    9 ๙. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการดูแลสุขภาพทั้งด้านร้างกาย อารมณ์ สังคม อย่างต่อเนื่อง
    ตัวชี้วัด : ๙.ร้อยละ๘๐ หญิงอายุ ๓๐ – ๗๐ ปี สามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองได้ถูกต้อง ๑๐.ร้อยละ20 หญิงอายุ ๓๐- ๖๐ ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ๑๑.ร้อยละ๘๐ ของร้านอาหารที่ต้องผ่านเกณฑ์ GFGT
    0.00
    1. หญิงอายุ 30-60 ปีได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก คิดเป็นร้อยละ45.07 11.ร้านอาหารผ่านเกณฑ์ CFGT คิดเป็นร้อยละ60 (ร้านอาหารทั้งหมด 80 ร้าน /มีผ่านเกณฑ์ ทั้งหมด48 ร้าน)

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1970 1970
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,970 1,970
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑.  เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการดูแลปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน (2) ๒.  เพื่อป้องกันประชากรกลุ่มเสี่ยงไม่ให้เกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตรายใหม่ (3) ๓.  เพื่อให้ผู้ป่วยเรื้อรังได้รับการดูแลตามมาตรฐานเฉพาะโรคและลดภาวะแทรกซ้อนมีคุณภาพชีวิตที่ดี (4) ๔  เพื่อป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมองในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (5) ๕.  เพื่อป้องกันการเกิดโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกในกลุ่มหญิงวัยเจริญพันธ์และกลุ่มเป้าหมายที่เสี่ยง (6) ๖.  เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลตามมาตรฐานฝากครรภ์คุณภาพ หญิงครรภ์เสี่ยงได้รับการดูแลที่เหมาะสม (7) ๗.  เพื่อให้ร้านอาหารผ่านเกณฑ์มาตรฐาน CFGT ผู้บริโภคปลอดภัย (8) ๘. เด็กวัย ๐-๖ ปี มีการเจริญเติบโต รับวัคซีนขั้นพื้นฐานและมีพัฒนาการเหมาะสมกับวัย (9) ๙. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการดูแลสุขภาพทั้งด้านร้างกาย อารมณ์ สังคม อย่างต่อเนื่อง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมดูแลสุขภาพ ป้องกันโรคทุกกลุ่มวัยแบบองค์รวม พื้นที่ศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลา จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 62-L7250-01-12

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( ( นางอรัญญา พรหมวิจิตร ) ตำแหน่ง หัวหน้าศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด