กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา


“ โครงการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตทุกกลุ่มวัยแบบองค์รวม ศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบร์รวมใจ ”

อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางณมน วงศ์หมัดทอง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตทุกกลุ่มวัยแบบองค์รวม ศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบร์รวมใจ

ที่อยู่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L7250-01-16 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตทุกกลุ่มวัยแบบองค์รวม ศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบร์รวมใจ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตทุกกลุ่มวัยแบบองค์รวม ศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบร์รวมใจ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตทุกกลุ่มวัยแบบองค์รวม ศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบร์รวมใจ " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L7250-01-16 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 97,040.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถานการณ์ของประเทศไทย พบการเจ็บป่วยและเสียชีวิตด้วยโรคต่าง ๆ ทั้งโรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อ เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือด เบาหวาน ความดันโลหิตสูง มะเร็ง อุบัติเหตุและโรคอุบัติต่าง ๆ
ซึ่งเป็นปัญหาสาธารณสุขทั้งในระดับประเทศและระดับชุมชน จากการวิเคราะห์ปัญหาสุขภาพของศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบร์รวมใจ รพ.สงขลา พบปัญหาที่สำคัญใน 6 กลุ่มโรค คือกลุ่มโรคไม่ติดต่อ (เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไตวาย หัวใจและหลอดเลือดสมอง มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก) กลุ่มแม่และเด็ก (หญิงตั้งครรภ์ในวัยรุ่นไม่พร้อม ฝากครรภ์ไม่ได้มาตรฐาน ภาวะซีด ลูกน้ำหนักน้อย) กลุ่มเด็ก 0 – 5 ปี (ภูมิคุ้มกันโรค พัฒนาการเด็ก น้ำหนักน้อย) กลุ่มผู้สูงอายุ (การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุต่อเนื่อง ผู้สูงอายุขาดที่พึ่ง ) กลุ่มโรคติดต่อ ไข้เลือดออก โรคไข้ปวดข้อ อุจจาระร่วง ไทฟอยด์ วัณโรค กลุ่มพิการ-จิตเวช และกลุ่มคุ้มครองผู้บริโภค ซึ่งปัญหาดังกล่าวเกิดจากการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม ขาดการมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพตนเอง ทั้งในระดับบุคคล ครอบครัวและชุมชน
การดูแลสุขภาพแบบองค์รวมและครบทุกมิติตั้งแต่มารดาตั้งครรภ์จนถึงระยะท้ายของชีวิตซึ่งต้องดูแลทุกระยะตลอดชีวิตตั้งแต่กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย รวมทั้งการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม เป็นการดูแลทั้งชีวิตครอบคลุมทั้งร่างกาย จิตใจ วิญญาณและสังคมที่มีความเชื่อมโยงเป็นเป็นหนึ่งเดียวกัน ศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบร์รวมใจ รพ.สงขลา ร่วมกันดูแลประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบทั้ง 6 ชุมชน ให้ครบทั้ง5มิติ มิติด้านส่งเสริมสุขภาพ มิติด้านป้องกันควบคุมโรค มิติด้านรักษาพยาบาล มิติด้านฟื้นฟูสุขภาพ และมิติด้านคุ้มครองผู้บริโภค ศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบร์รวมใจ รพ.สงขลา มีประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบประมาณ 8,025 คน 2, 2286 ครัวเรือน ซึ่งประชาชนเหล่านี้ต้องได้รับบริการด้านสาธารณสุขทั้งเชิงรุกในชุมชนและเชิงรับในศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบร์ รวมใจ โดยมีผลงานการให้บริการย้อนหลัง 3 ปี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้กลุ่มประชากรทุกกลุ่มวัยได้รับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมครอบคลุมทั้ง5มิติตามเกณฑ์มาตรฐาน
  2. 2. เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดความเสี่ยงป้องกันเกิดโรคเรื้อรังรายใหม่
  3. 3. เพื่อให้ผู้ป่วยเรื้อรัง – ติดเตียงระยะสุดท้าย – ผู้พิการ – ผู้สูงอายุพึ่งพา – พึ่งพิง ได้รับการดูแลตามมาตรฐานวิชาชีพเฉพาะโรค และลดภาวะแทรกซ้อนตายให้สมศักดิ์ศรีและมีคุณภาพชีวิตที่ดี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 12,606
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ประชาชนได้รับบริการสุขภาพมีคุณภาพมาตรฐานแบบองค์รวมมีความพึงพอใจเชื่อมั่นศรัทธาต่อการรับบริการที่ศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบร์รวมใจและมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมสามารถดูแลและพึ่งตนเองได้


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    กิจกรรมที่ 1 งานภาคประชาชน ๑. ประชุมชี้แจงติดตาม – ประเมินผลงานภาคประชาชน
    ๒. การประชุมวางแผน การดำเนินงาน ติดตามผลงาน ด้านสุขภาพ กิจกรรมที่ 2 งานอนามัยแม่และเด็ก 1. ประชาสัมพันธ์ การฝากครรภ์เร็ว มารับวัคซีนตามนัด 2. จัดสื่อการเรียนรู้ สื่อให้ความรู้วัคซีน สื่อฝากครรภ์เร็ว กิจกรรมที่ 3 งานวัยเรียน / วัยรุ่น 1. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การป้องกัน รู้ทันยาเสพติดและการตั้งครรภ์ในวัยเรียน 2. กิจกรรมรณรงค์ Big cleaning Day โรคไข้เลือดออก ชิคุนกุนยา หัด มือเท้าปาก ในโรงเรียน 3. การประชาสัมพันธ์งานด้านสาธารณสุขในรูปแบบหลากหลาย สื่อต่าง ๆ ในโรงเรียน กิจกรรมที่ 4 งานควบคุมโรคไม่ติดต่อคัดกรองสุขภาพวัยทำงาน/ผู้สูงอายุ/ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 1. การคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นและการให้ความรู้ทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มปกติ เสี่ยงสูง ป่วย 2. สอนการตรวจเต้านมด้วยตนเองและตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก 3. ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในชุมชน 4. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงป้องกันการเกิดโรครายใหม่ 5. กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและให้ความรู้ป้องกันภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วยและผู้พิการ ๖. การจัดบริการเยี่ยมบ้าน การดูแลผู้ป่วยติดเตียง/ระยะท้าย/ผู้พิการด้อยโอกาส 7. กิจกรรมสำรวจคัดกรอง/ประเมินภาวะสุขภาพ/คุณภาพชีวิต ผู้ป่วยเรื้อรัง 8. กิจกรรมประชุมชมรมผู้ป่วยเรื้อรัง 9. ประชุมกิจกรรม SHG กลุ่มผู้ป่วยเบาหวานความดัน 10.จัดฐานการเรียนรู้ป้องกันภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเรื้อรัง กิจกรรมที่ 5 งานคุ้มครองผู้บริโภค 1. ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การตรวจประเมินร้านอาหารขายของชำ กิจกรรมที่ 6 กลุ่มผู้พิการ ผู้ป่วยระยะสุดท้าย 1. จัดอบรมให้ความรู้เจ้าหน้าที่ในการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย 2. จัดอบรมดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย pcu.กุโบร์ pcu.พาณิชย์ และ pcu.เตาหลวง 9. การติดตามประเมินผล

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้กลุ่มประชากรทุกกลุ่มวัยได้รับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมครอบคลุมทั้ง5มิติตามเกณฑ์มาตรฐาน
    ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 60 มารดาตั้งครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรก 2. ร้อยละ 60 มารดาตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ตามมาตรฐาน 5 ครั้ง 3. ร้อยละ 90 ของเด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ 4. ร้อยละ 93 ของเด็กอายุ 0-5 ปี พัฒนาการสมวัย 5. ร้อยละ 90 ของประชาชน 35 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองสุขภาพ 11. ร้อยละ 80 หญิงอายุ 30 – 70 ปี สามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองได้ถูกต้อง 12. ร้อยละ 20 หญิงอายุ 30 – 60 ปี ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก 13. ร้อยละของการตั้งครรภ์หญิงอายุ 15 -19 ปีน้อยกว่า ร้อยละ 20 14. ร้อยละ 80 ของร้านอาหารที่ต้องผ่านเกณฑ์ GFGT
    60.00

     

    2 2. เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดความเสี่ยงป้องกันเกิดโรคเรื้อรังรายใหม่
    ตัวชี้วัด : 6. ร้อยละ 80 ของกลุ่มเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคเรื้อรังใหม่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 7. ร้อยละ 5 ของการเกิดผู้ป่วยเรื้อรังรายใหม่ 9. ร้อยละ 5 ผู้ป่วยเรื้อรังเกิดภาวะแทรกซ้อนรายใหม่
    80.00

     

    3 3. เพื่อให้ผู้ป่วยเรื้อรัง – ติดเตียงระยะสุดท้าย – ผู้พิการ – ผู้สูงอายุพึ่งพา – พึ่งพิง ได้รับการดูแลตามมาตรฐานวิชาชีพเฉพาะโรค และลดภาวะแทรกซ้อนตายให้สมศักดิ์ศรีและมีคุณภาพชีวิตที่ดี
    ตัวชี้วัด : 10. ร้อยละ 80 ของผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้พิการ ผู้สูงอายุ (ด้อยโอกาส) ผู้ป่วยระยะสุดท้าย ได้รับการดูแลแบบองค์รวมตามมาตรฐานวิชาชีพ 8. ร้อยละ 90 ผู้ป่วยเรื้อรังที่รับบริการที่ PCU ได้รับการดูแลและตรวจตามมาตรฐานเฉพาะโรค
    80.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 12606 12606
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 12,606 12,606
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.  เพื่อให้กลุ่มประชากรทุกกลุ่มวัยได้รับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมครอบคลุมทั้ง5มิติตามเกณฑ์มาตรฐาน (2) 2.  เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดความเสี่ยงป้องกันเกิดโรคเรื้อรังรายใหม่ (3) 3. เพื่อให้ผู้ป่วยเรื้อรัง – ติดเตียงระยะสุดท้าย – ผู้พิการ – ผู้สูงอายุพึ่งพา – พึ่งพิง ได้รับการดูแลตามมาตรฐานวิชาชีพเฉพาะโรค และลดภาวะแทรกซ้อนตายให้สมศักดิ์ศรีและมีคุณภาพชีวิตที่ดี

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตทุกกลุ่มวัยแบบองค์รวม ศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบร์รวมใจ จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 62-L7250-01-16

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางณมน วงศ์หมัดทอง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด