กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุยุด


“ โครงการรวมพลังสังคม ร่วมอาสาดูแลผู้ป่วยตำบลปูยุด ”

ประชาชนในพื้นที่ตำบลปูยุด อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางแวบีเดาะ เจะอุบง

ชื่อโครงการ โครงการรวมพลังสังคม ร่วมอาสาดูแลผู้ป่วยตำบลปูยุด

ที่อยู่ ประชาชนในพื้นที่ตำบลปูยุด อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 มีนาคม 2562 ถึง 30 เมษายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรวมพลังสังคม ร่วมอาสาดูแลผู้ป่วยตำบลปูยุด จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ประชาชนในพื้นที่ตำบลปูยุด อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุยุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรวมพลังสังคม ร่วมอาสาดูแลผู้ป่วยตำบลปูยุด



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรวมพลังสังคม ร่วมอาสาดูแลผู้ป่วยตำบลปูยุด " ดำเนินการในพื้นที่ ประชาชนในพื้นที่ตำบลปูยุด อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 มีนาคม 2562 - 30 เมษายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 33,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุยุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถานการณ์การเยี่ยมบ้านที่ผ่านมาพบว่ามีผู้ป่วยเป็นอัมพฤกษ์เคลื่อนไหวไม่ค่อยสะดวกอยู่บ้านคนเดียว และซึมลงเรื่อยๆ เจ้าหน้าที่ที่เยี่ยมบ้านถามว่า เขายากทำอะไร ผู้ป่วยบอกว่าอยากไปมัสยิดอยากพบปะผู้คน พอได้ยินแล้ว บางที่บุคลากรในระบบจะนึกไม่ออกว่าจะช่วยเขาอย่างไร บางทีงานอาสาสมัครก็สามารถเริ่มต้นได้ง่ายๆ เพราะชาวบ้านเค้ามัจิตใจอาสาอยากช่วยเหลือคนอื่นอยู่แล้ว แต่บางครั้งชาวบ้านเขาไม่รู้ว่าทำได้หรือเปล่า ควรทำแค่ไหนอย่างไร บางที่ต้องให้กำลังใจ ต้องการคนเชื่อม อาจต้องมีบุคลากรในโรงพยาบาลเป็นตัวกลาง โดยปรับบทบาทจากการเป็นคนไปดูแล บำบัด เยียวยา ไปเป็นคนเอื้ออำนวยให้เกิดพื้นที่ในการเกื้อกูลกัน ทำให้สองฝ่ายสื่อสารกัน แทนที่จะไปเยี่ยมบ้านเพื่อตรวจรักษาหรือจ่ายยาเพียงอย่างอย่างเดียว อาจต้องทำให้เกิดพื้นที่แบ่งปัน หรือสื่อสารว่าในชุมชนของเรามีใครที่เจ็บป่วยและเขาขาดเหลืออะไร แม้ว่าการพัฒนาอาสาสมัครและระบบการจัดการจะมีความจำเป็น แต่ทิศทางการทำงานจิตอาสาในอนาคต คือการปรับทัศนคติให้อาสาสมัครมีพื้นที่ในการเข้าไปทำงานอย่างเท่าเที่ยมกัน ได้รับการยอมรับให้เป็นส่วนหนึ่งของทีมสุขภาพที่สำคัญไม่ได้น้อยไปกว่าบุคลากรอื่นๆ สามารถแลกเปลี่ยนแนวคิดร่วมกันได้เพราะเราเชื่อว่า ยิ่งเปิดพื้นที่ให้มากเท่าไร ยิ่งจะทำให้รูปแบบของงานจิตอาสาแตกยอด หลากหลาย และยืดหยุ่น ได้มากขึ้นเท่านั้น ดังตัวอย่างที่ยกมาข้างตัน และเมื่อสื่อสารตัวอย่างรูปธรรมของการทำงานในลักษณะดังกล่าวออกไปในวงกว้าง จนเกิดความกล้าในการเปิดพื้นที่ให้มากยิ่งๆ ขึ้นแล้ว เราเชื่อว่าจะทำให้การทำงานอาสาสมัครเกิดการขยายตัวทั้งในทางปริมาณและคุณภาพอย่างคาดไม่ถึงเลยที่เดียว การทำงานจิตอาสาเพื่อดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย หากมองไปในระดับสากลแล้ว จะเห็นได้ว่าเป็นองค์ประกอบสำคัญอย่างหนึ่งที่ขาดไม่ได้ในการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายทั้งระบบ โดยอาสาสมัครได้รับการยอมรับว่าเป็นส่วนใหญ่หนึ่งของทีมดูแลเท่าๆ กับบุคลากรทางการแพทย์ หากในสังคมไทย แม้งานจิตอาสาดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายจะอยู่ในระยะเริ่มต้นเท่านั้น แต่ภายใต้บรรยาการปรับเปลี่ยนทัศนคติของบุคลากรทางการแพทย์เพื่อสร้างระบบการแพทย์ที่มีหัวใจความเป็นมนุษย์ ที่ค่อยๆ เคลื่อนตัวเข้าสู่ระบบสุขภาพในปัจจุบันย่อมทำให้งานอาสาสมัครดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายมีโอกาสได้รับการส่งเสริมสนับสนุนให้เติบใหญ่แข็งแรงและเป็นส่วนสำคัญในระบบสุขภาพในเวลาอันไม่ไกลจากนี้ไปจากความสำคัญดังกล่าวชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขจึงเล็งเห็นความสำคัญในเรื่องการสร้างมีส่วนร่วมด้านการดูฉลกกลุ่มเปราะบาง กลุ่มติดเตียง และผู้ป่วยระยะสุดท้ายระหว่างผู้ดูแลผู้ป่วย กับอาสาสมัครสาธารณสุขและเจ้าที่เพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุในอนาคตจึงได้จัดโครงการรวมพลังสังคม ร่วมอาสาดูแลผู้ป่วยตำบลปูยุด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเสริมสร้างทักษะ และองค์ความรู้ในการดูแลตนเองของครอบครัวครอบคลุม กาย จิต สังคมและจิตวิญญาณ
  2. เพื่อสร้างขวัญกำลังให้กลุ่มผู้ป่วย และผู้ดูแลผู้ป่วย
  3. เพื่อลดภาวะแทรกซ้อน และการค้นหาปัญหา ตลอดจนสามารถดูแลบรอการผู้ป่วยได้ทันท่วงที

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 60
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ประชาชนได้รับองค์ความรู้ในการดูแลตนเองของครอบครัวครอบคลุม กาย จิต สังคม และจิตวิญญาณ
    2. กลุ่มผู้ป่วย และผู้ดูแลใกล้ชิดมีขวัญกำลังใจ ไม่รู้สึกโดเดี่ยว แลัสุขภาพจิตดีขึ้น
    3. กลุ่มผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น และได้รับการดูแลอย่างทั่วถึง และทันท่วงที

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อเสริมสร้างทักษะ และองค์ความรู้ในการดูแลตนเองของครอบครัวครอบคลุม กาย จิต สังคมและจิตวิญญาณ
    ตัวชี้วัด : ประชาชนได้รับองค์ความรู้ในการดูแลตนเองของครอบครัวครอบคลุม กาย จิต สังคม และจิตวิญญาณ
    0.00

     

    2 เพื่อสร้างขวัญกำลังให้กลุ่มผู้ป่วย และผู้ดูแลผู้ป่วย
    ตัวชี้วัด : กลุ่มผู้ป่วย และผู้ดูแลใกล้ชิดมีขวัญกำลังใจ ไม่รู้สึกโดเดี่ยว แลัสุขภาพจิตดีขึ้น
    0.00

     

    3 เพื่อลดภาวะแทรกซ้อน และการค้นหาปัญหา ตลอดจนสามารถดูแลบรอการผู้ป่วยได้ทันท่วงที
    ตัวชี้วัด : กลุ่มผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น และได้รับการดูแลอย่างทั่วถึง และทันท่วงที
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 90
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 60
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเสริมสร้างทักษะ และองค์ความรู้ในการดูแลตนเองของครอบครัวครอบคลุม กาย จิต สังคมและจิตวิญญาณ (2) เพื่อสร้างขวัญกำลังให้กลุ่มผู้ป่วย และผู้ดูแลผู้ป่วย (3) เพื่อลดภาวะแทรกซ้อน และการค้นหาปัญหา ตลอดจนสามารถดูแลบรอการผู้ป่วยได้ทันท่วงที

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการรวมพลังสังคม ร่วมอาสาดูแลผู้ป่วยตำบลปูยุด จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางแวบีเดาะ เจะอุบง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด