กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลอ่าวพะยูน


“ โครงการอบรมอาสาสมัครสุขภาพประจำครอบครัว(อสค)ของกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลอ่าวพะยูน(4/2562) ”

อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวนิชาภา เพชรพัฒนาไกร

ชื่อโครงการ โครงการอบรมอาสาสมัครสุขภาพประจำครอบครัว(อสค)ของกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลอ่าวพะยูน(4/2562)

ที่อยู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 22 เมษายน 2562 ถึง 22 ธันวาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมอาสาสมัครสุขภาพประจำครอบครัว(อสค)ของกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลอ่าวพะยูน(4/2562) จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลอ่าวพะยูน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมอาสาสมัครสุขภาพประจำครอบครัว(อสค)ของกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลอ่าวพะยูน(4/2562)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมอาสาสมัครสุขภาพประจำครอบครัว(อสค)ของกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลอ่าวพะยูน(4/2562) " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 22 เมษายน 2562 - 22 ธันวาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 32,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลอ่าวพะยูน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ซึ่งเป็นโรคเรื้อรังตลอดชีวิต ซึ่งหากไม่ได้รับการรักษาหรือได้รับการรักษาไม่ถูกต้องจะเป็นอันตรายต่อชีวิตผู้ป่วย จากการศึกษาที่ผ่านมาพบว่าคนไทยที่มีความดันโลหิตสูงจะเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด ประมาณ 3.7 เท่าของผูู้ที่มีความดันโลหิตปกติและยังเสี่ยงต่อการเกิดโรคไตวาย โรคหลอดเลือดสมอง โรคหลอดเลือดส่วนปลาย และภาวะหัวใจล้มเหลวผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ไม่ได้รับการรักษาเกือบครึ่งหนึ่งจะตายด้วยโรคหัวใจ ส่วนโรคเบาหวาน จะเสี่ยงต่การเกิดภาวะตาบอดไตวาย การถูกตัดอวัยวะ เป็นต้นอวัยวะ เป็นต้นปัญหาของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่พบบ่อยที่สุด คือการบริโภคอาหารไม่ถูกต้อง ยังพบการบริโภคอาหารที่มีรสเค็มมัน และหวานสาเหตุ คือ ความเคยชิน ต้องประกอบอาชีพนอกบ้านไม่มีเวลาในการประกอบอาหารเองจึงซื้ออาหารสำเร็จรูป รวมถึงขาดการออกกำลังกายและไม่สามารถปรับพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องได้อย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ จากการดำเนินงานสาธารณสุขในปีงบประมาณ 2561 พบว่า ปัญหาสุขภาพที่เป็นปัญหาหลักของประชาชนในเขตเทศบาลตำบลอ่าวพะยูนได้แก่ในเขตเทศบาลตำบลอ่าวพะยูน มีผู้ป่วย โรคความดันโลหิตสูงจำนวน 930 รายโรคเบาหวานจำนวน 372 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 38170.62 ต่อแสนประชากร กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 471 ราย คิดเป็นร้อยละ 43.97 กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานจำนวน 263 ราย คิดเป็นร้อยละ 20.23 และ นอกจากนี้ ประชาชนยังมี พฤติกรรมบริโภคที่ถูกต้องเพียงร้อยละ 46.52 พฤติกรรมการออกกำลังกายที่ถูกต้องร้อยละ 35.9 พฤติกรรมทางอารมณ์ที่ถูกต้องร้อยละ 46.7 ร้อยละ 4.4 ยังมีความเครียด และนอกจากนี้ประชาชนยังมี พฤติกรรมการใช้ยาถูกต้องร้อยละ 32.26 ยังมีการใช้ยาชุด และการใช้ยาสมุนไพรที่ไม่ถูกต้อง นอกจากนี้ยังขาดความรู้ในการดูแลสุขภาพเบื่องต้นเมื่อเจ็บป่วย และจากการสุ่มตรวจสารเคมีในเลือดประชาชนจำนวน 92 คน พบว่า ปลอดภัย จำนวน 10 ราย คิดเป็นร้อยละ 10.86 มีความเสี่ยงจำนวน 60 ราย คิดเป็นร้อยละ 65.21 ไม่ปลอดภัยจำนวน 21 ราย คิดเป็นร้อยละ 22.82 สุขภาพดีเป็นสิทธิขันพื้นฐานของประชาชนทุกคน และการดูแลสุขภาพเป็นหน้าที่ของประชาชนทุกคนที่จะต้องทำ เพราะเรื่องสุขภาพไม่มีใครดูแลตัวเราได้เท่ากับเราดูแลตัวเอง ในการก้สวข้ามกับดักจากประเทศปานกลางสู่ประเทศโลกที่หนึ่งที่มีความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ในยุคประเทศไทย 4.0 จำเป็นอย่างยิ่งที่ประเทศชาติจะต้องมีจำนวนที่มีสุขภาพแข็งแรงเพิ่มขึ้น จำนวนผู้ป่วยลดลงประชาชนไทยจะต้องเป็นผู้ที่สง่างาม (Smart citizen) มีความรู้ ความเข้าใจ เข้าถึงข้อมูล และตัดสินใจดี ถูกต้องในการประพฤติปฏิบัติตน (Health Literacy) ด้วยการเข้ามาทำหน้าที่ดูแลสุขภาพ ของตนเองและสมาชิกในครอบครัวตนเองด้วยความรัก ซึ่งคนในแต่ละครอบครัว ดีที่สุด ที่จะทำหน้าที่ในการดุแลสุขภาพครอบครัวของตนเอง หากประชาชนในแต่ละครอบครัวลุกขึ้นมาทำหน้าที่ จำทำให้ครอบครัวได้รับการดูแลสุขภาพและถ่ายทอดความรู้สม่ำเสมอประชาชนแต่ละครอบครัวสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้ และมีสุขภาพดีด้วยการพึ่งตนเองอย่างยั่งยืน มีศักดิ์ศรีและความภาคภูมิใจ โรงพยาบาลปากพะยูนมีความตั้งใจและความพยายามในการส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาและสร้างการมีส่วนร่วมของคนในครอบครัวทั้งลูก หลาน ญาติทุกเพศทุกวัย ให้สามารถดูแลสุขภาพ คนในครอบครัวได้ด้วยตนเอง และมุ่งเน้นให้ทุกครอบครัวมีอย่างน้อย 1 คน ทำหน้าที่เป็นแกนนำปฏิบัติตนด้านสุขภาพที่มีพฤติกรรมเป็นแบบอย่างให้ครอบครัวและเป็นผู้ดูแลสุขภาพของคนในครอบครัวตนเอง ให้การช่วยเหลือ คนในครอบครัวและผู้อื่นด้วยจิตเมตตา มีคุณธรรม จริยธรรม โดยไม่หวังสิ้งตอบแทนใดๆ ไม่เรียกร้อง สิ่งตอบแทนใดนอกเหนือจากทำเพื่อให้เพื่อนมนุษย์ได้มีความสุขในนามเรียกขานว่า อาสาสมัครประจำครอบครัว หรือ อสค

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ทักษะและประสบการณ์ในการดูแลสุขภาพให้กับครอบครัวที่เหมาะสมกับโรค วัน ความเสี่ยง และสามารถถ่ายทอดความรู้ให้แก่สมาชิกในครอบครัวได้
  2. 2.เพื่อสร้างความเข็มแข็งของกำลังคนด้านสุขภาพเครืิข่ายภาคแระฃาฃน
  3. 3.สามารถวิเคราะห์และจัดการความเสี่ยง ภัยสุขภาพของตนเอง และสมาชิกในครอบครัว รวมทั้งนำสมาชิก ไปรับบริการสุขภาพ เมื่อพบปัญหาเกินกว่าที่ครอบครัวและ อสม. จะดุแลได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.จัดอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ จำนวน 2 รุ่น

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้เข้ารับการอบรม มีความรู้ ทักษะและประสบการณ์ในการดูแลสุขภาพให้กับครอบครัวที่เหมาะสมกับโรค วัย ความเสี่ยง ภัยสุขภาพ และสามารถถ่ายทอดความรู้ให้แก่สมาชิกในครอบครัวได้ 2.ประชาชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของคนในชุมชน และวางแผนแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพของคนในชุมชนได้ 3.ผู้เข้ารับการอบรม สามารถวิเคราะฆ์และจัดการความเสี่ยง ภัยสุขภาพของตนเองและสมาชิกในครอบครัว รวมทั้งนำสมาชิก ไปรับยริการสุขภาพเมื่อพบปัญหาเกินกว่าที่ครอบครัว และ อสม. จะดูแลได้ 4.ลดภาวะการทำงานของเจ้าหน้าที่ และลดค่าใช้จ่ายภาครัฐ กลุ่มเป้าหมาย 1.อาสาสมัครประจำครอบครัว (อสค) ม.1 (นอกเขต) จำนวน 10 คน 2.อาสาสมัครประจำครอบครัว (อสค) ม.2 บ้านท่าเตียน จำนวน 15 คน 3.อาสาสมัครประจำครอบครัว (อสค) ม.3 บ้านบางเตง จำนวน 25 คน 4.อาสาสมัครประจำครอบครัว (อสค) ม.4 บ้านโพธิ์ จำนวน 25 คน 5.อาสาสมัครประจำครอบครัว (อสค) ม.5 บ้านพรุหมอ จำนวน 20 คน 6.อาสาสมัครประจำครอบครัว (อสค) ม.6 บ้านไร่ จำนวน 25 คน รวมทั้งสิ้น 120 คน โดยแบ่งเป็น 2 รุ่น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ทักษะและประสบการณ์ในการดูแลสุขภาพให้กับครอบครัวที่เหมาะสมกับโรค วัน ความเสี่ยง และสามารถถ่ายทอดความรู้ให้แก่สมาชิกในครอบครัวได้
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 80 ผู้เข้ารับการอบรม มีความรู้ ทักษะและประสบการณ์ในการดูแลสุขภาพให้กับครอบครัวที่เหมาะสม กับโรค วัย ความเสี่ยง ภัยสุขภาพ และสามารถถ่ายทอดความรู้ให้แก่สมาชิกในครอบครัวได้
1.00

 

2 2.เพื่อสร้างความเข็มแข็งของกำลังคนด้านสุขภาพเครืิข่ายภาคแระฃาฃน
ตัวชี้วัด : -ร้อยละ 80 ผู้เข้ารับการอบรมมีพฤติกรรมสุขภาพถูกต้อง
1.00

 

3 3.สามารถวิเคราะห์และจัดการความเสี่ยง ภัยสุขภาพของตนเอง และสมาชิกในครอบครัว รวมทั้งนำสมาชิก ไปรับบริการสุขภาพ เมื่อพบปัญหาเกินกว่าที่ครอบครัวและ อสม. จะดุแลได้
ตัวชี้วัด : -ร้อยละ 80 ผู้เข้ารับการอบรมสามารถวิเคราะห์และจัดการความเสี่ยง ภัยสุขภาพของตนเอง และสามชิกในครอบครัว รวมทั้งนำสมาชิก ไปรับบริการสุขภาพ เมื่อพบปัญหาเกินกว่าที่ครอบครัว และ อสม จะดูแลได้
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ทักษะและประสบการณ์ในการดูแลสุขภาพให้กับครอบครัวที่เหมาะสมกับโรค วัน ความเสี่ยง และสามารถถ่ายทอดความรู้ให้แก่สมาชิกในครอบครัวได้ (2) 2.เพื่อสร้างความเข็มแข็งของกำลังคนด้านสุขภาพเครืิข่ายภาคแระฃาฃน (3) 3.สามารถวิเคราะห์และจัดการความเสี่ยง ภัยสุขภาพของตนเอง และสมาชิกในครอบครัว รวมทั้งนำสมาชิก ไปรับบริการสุขภาพ เมื่อพบปัญหาเกินกว่าที่ครอบครัวและ อสม. จะดุแลได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.จัดอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ จำนวน 2 รุ่น

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมอาสาสมัครสุขภาพประจำครอบครัว(อสค)ของกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลอ่าวพะยูน(4/2562) จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวนิชาภา เพชรพัฒนาไกร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด