กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลดอนทราย


“ โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุและผู้ป่วยเรื้อรังด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2562 ”

ตำบลดอนทราย อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายเคลิ้ม บัวแก้ว

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุและผู้ป่วยเรื้อรังด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2562

ที่อยู่ ตำบลดอนทราย อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 62-L3335-2-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุและผู้ป่วยเรื้อรังด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2562 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดอนทราย อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลดอนทราย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุและผู้ป่วยเรื้อรังด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุและผู้ป่วยเรื้อรังด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดอนทราย อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 62-L3335-2-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,150.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลดอนทราย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคเบาหวานเป็นโรคเรื้อรัง และก่อให้เกิดปัญหาต่อสุขภาพกับอวัยวะต่างๆ ภายในร่างการเช่น เหงือก ฟัน ตา ไต หัวใจ และระบบประสาทหลอดเลือดแดง ซึ่งผู้ป่วยโรคเบาหวานเรื้อรังนั้นมักมีหลอดเลือดแดงแข็ง (atherosclerosis) ทำให้เลือดไปเลี้ยงเท้าไม่พอจนอาจทำให้เท้าเย็น เป็นตะคริว ทำให้ความรู้สึกสัมผัสบริเวณเท้าลดลงหรือเกิดอาการปวดขณะเดินมากๆ ซึ่งเพิ่มความเสี่ยงในการเกิดอุบัติเหตุลื่นล้มได้ โรคเบาหวานเป็นโรคเรื้อรังที่ต้องใช้ยาตลอด สามารถเกิดอาการแทรกซ้อนต่างๆมากมาย แผลที่เท้าเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญในผู้ป่วยเบาหวาน ในรายที่คุมระดับน้ำตาลได้ไม่ดี ก่อให้เกิดปัญหาต่อระบบประสาทรับความรู้สึกส่วนปลาย ทำให้บริเวณเท้าชา ไม่รู้สึกเจ็บปวด ไม่รับรู้แรงกดดันหรืออาจสูญเสียการรับรู้ร้อนหนาวได้ สิ่งเหล่านี้ง่ายต่อการเกิดอุบัติเหตุหรือแม้แต่เมื่อมีแผลเกิดขึ้นที่เท้าจะไม่รู้สึกเจ็บ ทำให้แผลลุกลามอาจถึงขั้นตัดขาได้ พบว่าผู้ป่วยเบาหวานส่วนใหญ่ไม่รู้ถึงการดูแลเท้าให้ถูกต้อง เหมาะสม และการดูแลไม่ต่อเนื่องส่งผลให้ผู้ป่วยมีปัญหาเรื่องเท้า ซึ่งส่วนใหญ่มีอาการเท้าชา จึงทำให้เกิดอุบัติเหตุที่เท้าขึ้น โดยอาการเท้าชาเป็นอาการผิดปกติของระบบประสาทรับความรู้สึก เป็นอาการที่มีความรู้สึกเจ็บ ปวด ร้อน หรือเย็นน้อยกว่าปกติหรือไม่มีความรู้สึกเลย บางคนอาจรู้สึกซ่าๆ ที่ปลายเท้าหรือมีอาการเหมือนมีอะไรยุบยิบๆ ตามปลายเท้า แล้วก็หายไปหรือเป็นตลอด ซึ่งอาการชาจะเกิดขึ้นเมื่อเส้นประสาทส่งความรู้สึกของบริเวณที่เป็นทำงานบกพร่องไปแล้วอย่างน้อย 50% โดยถ้าเส้นประสาทส่งความรู้สึกทำงานบกพร่องไปอย่างช้าๆ อาจไม่รู้สึกถึงความผิดปกติและมักตรวจพบได้ยาก แต่ถ้าเกิดการบกพร่องไปอย่างรวดเร็วจะเกิดอาการที่ชัดเจน อาการเท้าชาสามารถเกิดได้จากหลายสาเหตุ เช่น อาจเกิดจากการนั่งหรือยืนในท่าเดิมเป็นเวลานาน ทำให้เลือดไปเลี้ยงร่างกายไม่ทั่วถึง อาจเกิดจากมีระดับแร่ธาตุและวิตามินผิดปกติ หรืออาจมีสาเหตุจากโรคบางโรค เช่น โรคหมอนรองกระดูกกดทับเส้นประสาท งูสวัด เบาหวาน ปวดศีรษะไมเกรน ลมชัก และหลอดเลือดสมอง เป็นต้น ปัจจุบันกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น และส่งผลกระทบต่อสุขภาวะของคนไทยเป็นอย่างมาก จากข้อมูลของกระทรวงสาธารณสุขพบว่าโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเป็นสาเหตุการเสียชีวิตถึงร้อยละ 73 ของประชากรทั้งหมด โดยเฉพาะโรคหลอดเลือดหัวใจ ซึ่งโรคหลอดเลือดหัวใจมีสาเหตุส่วนหนึ่งมาจากโรคเบาหวาน จากสถิติในปี 2561 พบว่ามีผู้ป่วยโรคเบาหวานในประเทศไทยทั้งหมด 876,970 ราย ในจังหวัดพัทลุงมี 23,438 ราย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกทราย พบผู้ป่วยโรคเบาหวานที่อยู่ในเขตรับผิดชอบ ทั้งหมดจำนวน 80 ราย จากการคัดกรองผู้ป่วยเบาหวานที่มีอาการเท้าชาพบว่ามีจำนวนทั้งหมด 13 ราย โดยสาเหตุส่วนใหญ่มาจากการบริโภคอาหารที่มีพลังงานสูง ไขมันสูง อาหารรสจัด อาหารไม่เหมาะกับสภาวะโรคและร่างกายของตนเอง ดังนั้นการดูแลตัวเองและป้องกันไม่ให้เกิดอาการเท้าชาในทางแพทย์แผนไทยก็คือ การแช่เท้าด้วยสมุนไพร โดยการแช่เท้าด้วยสมุนไพร เป็นวิธีนี้มีมาตั้งแต่สมัยโบราณ ที่คนในอดีตจะแช่เท้าด้วยสมุนไพร เพื่อให้เกิดความผ่อนคลายจากการทำงาน การแช่เท้ามีการใช้เข้ามารักษาหรือบำบัดได้หลายระดับ อันดับแรก คือช่วยผ่อนคลาย แช่เพื่อให้เลือดลมเดินสะดวก ลดอาการตึงเครียด อีกอย่างการแช่เท้าไม่ใช่การรักษาเพียงแค่กาย แต่เกี่ยวเนื่องไปในส่วนของความรู้สึกทางอารมณ์ หากร่างกายเกิดความผ่อนคลายทางกาย ก็ส่งผลในสุขภาพจิตดีขึ้นตามไปด้วย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกทราย เห็นความสำคัญในการดูแลสุขภาพเท้าผู้ป่วยเบาหวานด้วยวิธีการใช้ภูมิปัญญาพื้นบ้านและการแพทย์แผนไทยซึ่งจะเป็นอีกวิธีหนึ่งที่จะช่วยลดการเกิดแผล และผสมผสานเพื่อส่งเสริมภูมิปัญญาพื้นบ้านที่ใช้สมุนไพรในการดูแลเท้าและยังให้ประชาชนรู้จักการใช้สมุนไพรพื้นบ้านมารักษา ป้องกันไม่ให้เกิดโรคในระยะเบื้องต้นได้อย่างถูกต้อง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อรักษาอาการเท้าชาในผู้ป่วยเบาหวาน
  2. 2. เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพรและภูมิปัญญาท้องถิ่นในการดูแลรักษาสุขภาพของผู้ป่วย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ กลุ่มโรคเบาหวาน จำนวน 30 ราย
  2. แช่เท้าด้วยสมุนไพรในวันคลินิกโรคเรื้อรังของกลุ่มผู้ป่วยเบาหวานที่มีอาการเท้าชา จำนวน 13 ราย/ จำนวน 1 ครั้ง/เดือน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 30
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ป่วยเบาหวานมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลเท้าที่ถูกต้อง
    1. สามารถลดอาการเท้าชาและลดภาวะเสี่ยงต่อการเป็นแผลที่เท้าของผู้ป่วยเบาหวาน
    2. ผู้ป่วยเบาหวานเห็นความสำคัญของการดูแลเท้า และการป้องกันอาการแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน
    3. ช่วยส่งเสริมการใช้สมุนไพรและภูมิปัญญาในการดูแลรักษา

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ กลุ่มโรคเบาหวาน จำนวน 30 ราย

วันที่ 17 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

กลุ่มผู้ป่วยโรคความดันเบาหวานได้รับการอบรมเรื่องการดูแลเท้าทุกคน ครบ 100%

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ป่วยสามารถดูแลเท้าได้ในระดับดีร้อยละ 80 ผู้ป่วยเบาหวาน เท้าชาลดลง ผู้ป่วยสามารถนำการแช่เท้าไปทำที่บ้านได้และสามารถเผยแพร่ความรู้เบื้องต้นในการดูแลเรื่องเท้าชา

 

30 0

2. แช่เท้าด้วยสมุนไพรในวันคลินิกโรคเรื้อรังของกลุ่มผู้ป่วยเบาหวานที่มีอาการเท้าชา จำนวน 13 ราย/ จำนวน 1 ครั้ง/เดือน

วันที่ 22 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ผู้ป่วยทั้ง 13 ราย ได้รับการแช่เท้าอย่างต่อเนื่องทุกเดือน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

หลังจากตรวจด้วยเครื่อง ตรวจ Monofira ment พบเท้าชาลดลง

 

13 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อรักษาอาการเท้าชาในผู้ป่วยเบาหวาน
ตัวชี้วัด : 1. ผู้ป่วยเบาหวานที่มีอาการเท้าชาร้อยละ 100 ได้รับการตรวจเท้าเป็นประจำอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง
30.00

 

2 2. เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพรและภูมิปัญญาท้องถิ่นในการดูแลรักษาสุขภาพของผู้ป่วย
ตัวชี้วัด : 2. ผู้ป่วยเบาหวานที่มีอาการเท้าชาและได้เข้ารับการแช่เท้า มีอาการเท้าชาลดลงอย่างน้อย 1 จุด
30.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 0
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 0
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 30
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 0
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 0
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 0

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อรักษาอาการเท้าชาในผู้ป่วยเบาหวาน (2) 2. เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพรและภูมิปัญญาท้องถิ่นในการดูแลรักษาสุขภาพของผู้ป่วย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ กลุ่มโรคเบาหวาน จำนวน  30  ราย (2) แช่เท้าด้วยสมุนไพรในวันคลินิกโรคเรื้อรังของกลุ่มผู้ป่วยเบาหวานที่มีอาการเท้าชา จำนวน 13 ราย/ จำนวน  1 ครั้ง/เดือน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุและผู้ป่วยเรื้อรังด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2562

รหัสโครงการ 62-L3335-2-02 ระยะเวลาโครงการ 1 พฤษภาคม 2562 - 30 กันยายน 2562

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

การนำพืชสมุนไพรในท้องถิ่นมาใช้ประโยชน์ในการดูแลเท้าในผู้ป่วยโรคเบาหวานเพื่อป้องกันและรักษาภาวะแทรกซ้อน

 

ส่งเสริมให้ชุมชนปลูกพืชสมุนไพรและนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

ผลิตภัณฑ์สมุนไพรสำเร็จรูปในการแช่เท้า

 

ส่งเสริมให้ชุมชนปลูกพืชสมุนไพรและทำเป็นสินค้าด้านสุขภาพในชุมชนที่มีมาตรฐาน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่มด้านการดูแลสุขภาพ

 

พัฒนาสื่อที่สามารถเข้าถึงง่าย เหมาะกับผู้ป่วย

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

เกิดการรวมกลุ่มในชมรมผู้ป่วยเรื้อรังและชมรมผู้สูงอายุในการผลิตสมุนไพร

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

กลุ่มผู้ป่วยเรื้อรังที่สามารถดูแลสุขภาพตนเองในกลุ่มตามศักยภาพ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

ส่งเสริมให้ตระหนักให้ผู้ป่วยดูแลเท้าไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

สามารถนำความรู้การบริโภคสมุนไพรที่เกี่ยวข้องกับโรคเรื้อรังและการส่งเสริมการปลุูกและกินผักที่เป็นสมุนไพรปลอดสารพิษ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

การบริหารเท้าอย่างถูกต้อง ต่อเนื่อง

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

ส่งเสริมให้เกิดการแลกเปลี่ยนในกลุ่ม ลดภาวะเครียด

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

ผู้ป่วยปลูกและนำสมุนไพรในพื้นถิ่นเพื่อการดูแลรักษาเท้า

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

ครอบครัวครัวสามารถดูแลผู้ป่วยเองได้ ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

ส่งเสริมการปลูกพืชสมุนไพรปลอดสารพิษ ลดการใช้ยาแผนปัจจุบัน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

สร้างผลิตภัณฑ์สมุนไพรเป็นของกลุ่มเอง

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

การจัดการสมุนไพรในชุมชน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

ผู้ป่วยระดมสมุนไพรมาร่วมกิจกรรม

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

ทุกเดือนมีการทำกิจกรรมแช่เท้า

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

สมาชิกรู้สึกยินดีที่มีส่วนร่วมในกิจกรรม

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุและผู้ป่วยเรื้อรังด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2562 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 62-L3335-2-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายเคลิ้ม บัวแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด