กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองแงะ


“ โครงการควบคุมและป้องกันการระบาดโรคไข้เลือดออกและโรคชิคุนกุนยา ปี 2562 ”

อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายปรีชารัตน์ รัตน์ธาวัลย์ ผอ.รพ.สต.คลองแงะ

ชื่อโครงการ โครงการควบคุมและป้องกันการระบาดโรคไข้เลือดออกและโรคชิคุนกุนยา ปี 2562

ที่อยู่ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2562 ถึง 31 ธันวาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการควบคุมและป้องกันการระบาดโรคไข้เลือดออกและโรคชิคุนกุนยา ปี 2562 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองแงะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมและป้องกันการระบาดโรคไข้เลือดออกและโรคชิคุนกุนยา ปี 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการควบคุมและป้องกันการระบาดโรคไข้เลือดออกและโรคชิคุนกุนยา ปี 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2562 - 31 ธันวาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 110,022.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองแงะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกนับเป็นปัญหาสาธารณสุขระดับประเทศปัญหาหนึ่ง ระยะแรกของการระบาดของโรคไข้เลือดออกในประเทศไทยมักมีการระบาดปีเว้นปีหรือปีเว้นสองปีแต่ในระยะหลังกลับพบว่าการระบาดไม่มีแบบแผนแน่นอน จากสถานการณ์โรคไข้เลือดออกในจังหวัดสงขลา ปี ๒๕๖๑ พบว่า มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสะสมรวม สงขลา(ณ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๑ ) ผู้ป่วยไข้เลือดออก ๒,๕๐๐ ราย อัตราป่วย ๑๗๗.๔๖ ต่อประชากรแสนคน สำหรับสถานการณ์ของโรคในอำเภอสะเดาใน ปี พ.ศ.๒๕๖๑ พบผู้ป่วย จำนวน ๒๑๔ ราย คิดเป็นอัตราป่วย ๑๖๑.๙๘ ต่อประชากรแสนคน ไม่มีผู้เสียชีวิต  ส่วนในเขตพื้นที่ หมู่ ๓,๔ และ ๕ พบผู้ป่วยจำนวน ๑๖ โดยเป็นผู้ป่วยในเขตเทศบาลตำบลคลองแงะจำนวน ๑๔ ราย ถึงแม้ว่าจะพบผู้ป่วยในปี ๒๕๖๑ลดลง แต่ก็ยังจำเป็นควบคุมและเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่อง เพราะธรรมชาติของการระบาดโรคไข้เลือดออก จากการดูสถิติย้อนหลัง ๕ ปี พบว่า มีการระบาดด้วยโรคไข้เลือดออก ๑ ปี เว้น ๒ ปี ซึ่งตรงกับปี ๒๕๖๒ และผนวกกับปีที่ผ่านมาพบว่านอกจากโรคไข้เลือดออกแล้วยังพบผู้ป่วยเป็นโรคไข้ปวดข้อยุงลาย หรือ โรคชิคุนกุนยา (Chikungunya fever) ซึ่งมีพาหะนำโรคเป็นยุงลาย อีกด้วย
    โรคไข้ปวดข้อยุงลายหรือชิคุนกุนยา (Chikungunya fever) จากการรายงานในระบบเฝ้าระวังทาง ระบาดวิทยา ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2556 - 2560 พบผู้ป่วยสูงสุดในปี พ.ศ. 2557 จำนวน 190 ราย อัตราป่วย 0.29 ต่อประชากรแสนคน แต่ในปี พ.ศ. 2558 - 2560 ผู้ป่วยลดลงอย่างต่อเนื่องและลดลงต่ำสุดในปี พ.ศ. 2560  จำนวน 10 ราย อัตราป่วย 0.01 ต่อประชากรแสนคน ยังไม่รายงานผู้เสียชีวิตจากโรคนี้ ข้อมูลตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561 พบผู้ป่วยสะสม 642 ราย อัตราป่วย 0.98 ต่อประชากรแสนคน สูงกว่าในรอบ 5 ปีที่ผ่านมาถึง 27 เท่า สำหรับไข้ชิคุนกุนยา ในเขตเทศบาลตำบลคลองแงะ ในปี 2561 นั้นพบผู้ป่วยที่อยู๋ในระบบ มีรายงานจากโรงพยาบาลตามระบบ 506 จำนวน 3 ราย และเป็นผู้ป่วยที่ไม่ได้เข้าสู่ระบบรายงาน 506 ซึ่งได้รับการรักษาในคลินิกต่างๆ จำนวน 3 ราย รวมเป็น 6 ราย การดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ชิคุนกุนยา ซึ่งเป็นโรคติดต่อมียุงลายเป็นพาหะให้ประสบผลสำเร็จและเกิดประสิทธิภาพนั้น จำเป็นต้องมีมาตรการการเฝ้าระวังอย่างต่อเนื่องและระดมความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องในการกำจัดลูกน้ำยุงลายและยุงลายตัวแก่ที่เป็นพาหะนำโรคและรณรงค์ให้หมู่บ้านตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาโรคไข้เลือดออก แต่ปัจจัยหลังที่ทำให้พบผู้ป่วยในทุกปีนั้นคือปัญหาขยะและมีแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชน ซึ่งในเขตเทศบาลตำบลคลองแงะเป็นเขตชุมชนกึ่งเมืองทั้งยังมีอาณาเขตในการดูแลกว้างขวาง ทำให้การสอดส่องดูแลเรื่องการกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายนั้นยังไม่ทั่วถึงเท่าที่ควร จึงยังทำให้มีภาชนะที่สามารถเป็นแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายหลงเหลือในชุมชน อีกทั้งการกระตุ้นความตระหนักต่อการเกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชนยังมีน้อย การลงสุ่มสำรวจดัชนีลูกน้ำยุงลายในชุมชนจึงมีความสำคัญต่อการควบคุมทางกายภาพเพื่อลดการเกิดโรค เพื่อให้ค่าดัชนีความชุกของลูกน้ำยุงลายอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานคือ น้อยกว่าร้อยละ 10 ในชุมชน จึงจำเป็นต้องสุ่มตรวจแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำในชุมชน ร่วมด้วยกับการพ่นเคมี กำจัดยุงลายตัวแก่ในชุมชน เพื่อประสิทธิภาพในการควบคุมโรคไข้เลือดออก ในการนี้ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองแงะ ได้ตระหนักถึงความสำคัญในการเร่งรัด การควบคุมและกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย และการส่งเสริมการป้องกันโรคและการระบาดของโรคในพื้นที่ จึงได้จัดทำ โครงการชุมชนคลองแงะร่วมใจ ขจัดภัยร้ายไข้เลือดออก ขึ้น เพื่อเป็นการกระตุ้นให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ เอกชน สถาบันต่างๆ โรงเรียน รวมทั้งประชาชนโดยทั่วไป ได้ทราบและเล็งเห็นความสำคัญของการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก  โดยการจัดกิจกรรมรณรงค์ให้ความรู้แก่ประชาชนในพื้นที่เพื่อเป็นการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคในหมู่บ้าน ส่งผลให้ประชาชนมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ปลอดภัยจากโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ชิคุกุนยา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก
  2. ๒. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกและไข้ปวดข้อยุงลายในเขตเทศบาลตำบลคลองแงะ
  3. เพื่อทำลายแหล่งเพาะพันธ์และภาชนะเสี่ยง ในชุมชน โรงเรียน และวัด ที่เป็นแหล่งโรค
  4. เพื่อควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลาย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑. สามารถควบคุมแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายที่บ้านได้ครอบคลุม 100 % ๒. สามารถควบคุมแหล่งพันธ์ลูกน้ำยุงลายที่โรงเรียน,วัดและสถานที่ราชการได้ครอบคลุม ๑๐๐% ๓. สามารถลดอัตราป่วยด้วยไข้เลือดออกจนไม่เป็นปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่รับผิดชอบ ๔. ประชาชนในเขตรับผิดชอบมีความตระหนักและสามารถควบคุมแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายได้ต่อเนื่อง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก
    ตัวชี้วัด : 1. ความร่วมมือขององค์กรและหน่วยงานต่างๆ ในชุมชน
    1.00

     

    2 ๒. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกและไข้ปวดข้อยุงลายในเขตเทศบาลตำบลคลองแงะ
    ตัวชี้วัด : 1. อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกและโรคปวดข้อยุงลายลดลง เมื่อเทียบกับค่ามัธยฐาน ๕ ปีย้อนหลัง
    1.00

     

    3 เพื่อทำลายแหล่งเพาะพันธ์และภาชนะเสี่ยง ในชุมชน โรงเรียน และวัด ที่เป็นแหล่งโรค
    ตัวชี้วัด : 1. สามารถควบคุมแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายที่บ้านได้ครอบคลุม ๙๐% 2. สามารถกำจัดยุงลายตัวแก่ด้วยวิธีการพ่นละอองฝอย ได้คลอบคลุมทุกหลังคาเรือน ๑๐๐ % 3. ดัชนีลูกน้ำยุงลาย < 10 ในชุมชน และ = 0 ในโรงเรียน วัด สถานที่ราชการ
    1.00

     

    4 เพื่อควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลาย
    ตัวชี้วัด : ๑. โรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลายไม่เป็นปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่
    1.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย  ในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก (2) ๒. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกและไข้ปวดข้อยุงลายในเขตเทศบาลตำบลคลองแงะ (3) เพื่อทำลายแหล่งเพาะพันธ์และภาชนะเสี่ยง ในชุมชน โรงเรียน และวัด ที่เป็นแหล่งโรค (4) เพื่อควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลาย

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการควบคุมและป้องกันการระบาดโรคไข้เลือดออกและโรคชิคุนกุนยา ปี 2562 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายปรีชารัตน์ รัตน์ธาวัลย์ ผอ.รพ.สต.คลองแงะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด