กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุตำบลปากน้ำอย่างยั่งยืน (โรงเรียนผู้สูงอายุตำบลปากน้ำ) ”

ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายอรุณ เอ็มดู

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุตำบลปากน้ำอย่างยั่งยืน (โรงเรียนผู้สูงอายุตำบลปากน้ำ)

ที่อยู่ ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-L5312-3-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2562 ถึง 31 ตุลาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุตำบลปากน้ำอย่างยั่งยืน (โรงเรียนผู้สูงอายุตำบลปากน้ำ) จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุตำบลปากน้ำอย่างยั่งยืน (โรงเรียนผู้สูงอายุตำบลปากน้ำ)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุตำบลปากน้ำอย่างยั่งยืน (โรงเรียนผู้สูงอายุตำบลปากน้ำ) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 62-L5312-3-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2562 - 31 ตุลาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 89,550.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันสังคมไทยได้ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุแล้ว จากรายงานสถานการณ์ผู้สูงอายุไทยในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ประเทศไทยมีประชากรโดยประมาณ ๖๘ ล้านคน โครงสร้างอายุของประชากรเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว อัตราการเกิดของประชากรลดลง ในขณะเดียวกันประชากรมีอายุยืนยาวขึ้น ในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ ประชากรสูงวัยที่มีอายุ ๖๐ ปีขึ้นไป มีจำนวนมากถึง ๑๑ ล้านคน หรือคิดเป็นร้อยละ ๑๖ ของประชากรทั้งหมด(ที่มา สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล) และประเทศไทยกำลังจะกลายเป็น “สังคมผู้สูงวัยโดยสมบูรณ์” เมื่อประชากรอายุ ๖๐ ปีขึ้นไปมีมากถึงร้อยละ ๒๐ ในปี พ.ศ. ๒๕๖๔ และคาดว่าจะเป็น “สังคมสูงวัยระดับสุดยอด” ในอีกไม่ถึง ๒๐ ปีข้างหน้าเมื่อประชากรอายุ ๖๐ ปีขึ้นไปมีสัดส่วนถึงร้อยละ ๒๘ ของประชากรทั้งหมด โครงสร้างประชากรของผู้สูงอายุในพื้นที่ตำบลปาน้ำ พบว่า ผู้สูงอายุมีอายุยืนยาวมากขึ้นและมีจำนวนผู้สูงอายุเพิ่มมากขึ้นทุกปี โดยในปีพ.ศ. ๒๕๖๒ ตำบลปากน้ำมีจำนวนประชากรทั้งสิ้น ๑๐,๙๖๐ คน จำนวนผู้สูงอายุ ๖๐ ปีขึ้นไป จำนวน ๑,๓๓๗ คน คิดเป็นร้อยละ๑๒.๑๙ ของประชากรทั้งหมด(สถิติทะเบียนราษฎร ณ วันที่๒๒เมษายน ๒๕๖๒)ถือว่าตำบลปากน้ำก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุแล้วเช่นกัน สถานการณ์เหล่านี้นำมาสู่ปัญหาของผู้สูงอายุทั้งด้านสุขภาพอนามัย ด้านเศรษฐกิจ และด้านสังคม ซึ่งทุกภาคส่วนทั้งภาครัฐ เอกชน ชุมชนต้องตระหนักถึงปัญหาที่จะเกิดขึ้นพร้อมก้าวเข้าสู่ยุคสูงวัยอย่างมีคุณภาพ ผู้สูงอายุไม่ใช่บุคคลด้อยโอกาสหรือเป็นภาระต่อสังคม แต่สามารถมีส่วนร่วมเป็นพลังพัฒนาสังคม จึงควรได้รับการส่งเสริมสนับสนุนให้มีความพร้อมมีศักยภาพ สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข มีศักดิ์ศรีเป็นผู้สูงอายุที่มีคุณภาพ พึ่งพาตนเองได้ทั้งด้านสุขภาพร่างกาย จิตใจ ไม่เหงา ไม่ซึมเศร้า ไม่ติดบ้านติดเตียงก่อนเวลาอันควรด้วยการให้ความรู้และวิธีการในการเสริมสร้างสุขภาพอนามัยทั้งสุขภาพทางกาย สุขภาพจิต จิตปัญญารวมทั้งสร้างเสริมภูมิคุ้มกันให้ผู้สูงอายุในการปกป้องตนเองจากภัยรอบด้านด้วยการให้ข่าวสาร ความรู้ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม องค์การบริหารส่วนตำบลปากน้ำ จึงได้จัดโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุอย่างยั่งยืน(โรงเรียนผู้สูงอายุ)เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตของผู้สูงอายุซึ่งจะนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิต และนำผู้สูงอายุเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุที่มีคุณภาพ โดยการมีส่วนร่วมของประชาชนความสุขครอบคลุมทั้ง ๕ มิติ คือ สุขสบาย สุขสนุก สุขสง่า สุขสว่าง สุขสงบ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาศักภาพผู้สูงอายุให้มีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะในการดูแลตนเองให้มีสขุภาพดี
  2. เพื่อพัฒนาผู้สูงอายุให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความสุข สามารถพึ่งพาตนเองได้ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ และด้านสังคม
  3. เพื่อเป็นศูย์กลางการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุรภาพชีวิตผู้สูงอายุเป็นศูนย์กลางให้ผู้สูงอายุได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ชีวิต และเป็นจิตอาสาร่วมสร้างสรรค์ประโยชน์ต่อชุมชน/สังคม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมประชุมชี้แจงปฐมนิเทศผู้เข้าร่วมโครงการและตรวจประเมินสุขภาวะก่อนเรียน
  2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ด้านส่งเสริมสุขภาพตามหลักสูตรโรงเรียนผู้สูงอายุตำบลปากน้ำ
  3. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การถอดบทเรียนการจัดการโรงเรียนผู้สูงอายุที่ดีปัจฉิมนิเทศก์และมอบวุฒิบัตรแก่ผู้เข้าร่วมโครงการ
  4. กิจกรรมประชุมคณะทำงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 40
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจ มีทักษะที่ถูกต้องในการดูแลสุขภาพตนเองในการป้องกันการเจ็บป่วย 2.ผู้สูงอายุมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง มีสุขภาพใจที่ดีไม่เหงา ไม่ซึมเศร้า พึ่งพาตนเองได้ มีคุณภาพชีวิตที่มีความสุข 3.เกิดโรงเรียนผู้สูงอายุ ซึ่งเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ตลอดชีวิต ผู้สูงอายุมีสถานที่ในการแลกเปลี่ยนเรียนรุู้และทำกิจกรรมร่วมกันรวมทั้งเป็นเวทีที่เปิดโอกาสให้เข้าร่วมเป็นจิตอาสาสร้างสรรค์ประโยชน์ต่อชุมชนและสังคม


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อพัฒนาศักภาพผู้สูงอายุให้มีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะในการดูแลตนเองให้มีสขุภาพดี
ตัวชี้วัด : เชิงปริมาณ 1.ประเมินจำนวนผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการ 2. ประเมินเวลาเรียน ผู้เข้าร่วมโครงการร้อยละ 80 ของ เชิงคุณภาพ1.ประเมินความรู้ความสามารถ ร้อยละ 90 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้จากการเรียนเพิ่มขึ้น 2. ประเมินภาวะสุขภาพทั้งด้านร่างกายและจิตใจ และด้านสังคม ร้อยละ 90 ผู้เข้าร่วมโครงการมีสุขภาวะที่ดีขึ้น 3. ประเมินความพึงพอใจร้อยละ 85 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความพอใจในระดับมาก-มากที่สุด 4ประเมินกิจกรรม ผู้เข้าร่วมโครงการได้ทำกิจกรรมที่เป็นประโยชน์หรือช่วยเหลือสังคมอย่างน้อย 1 -2กิจกรรม
0.00

 

2 เพื่อพัฒนาผู้สูงอายุให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความสุข สามารถพึ่งพาตนเองได้ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ และด้านสังคม
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อเป็นศูย์กลางการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุรภาพชีวิตผู้สูงอายุเป็นศูนย์กลางให้ผู้สูงอายุได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ชีวิต และเป็นจิตอาสาร่วมสร้างสรรค์ประโยชน์ต่อชุมชน/สังคม
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 0
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 40
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาศักภาพผู้สูงอายุให้มีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะในการดูแลตนเองให้มีสขุภาพดี (2) เพื่อพัฒนาผู้สูงอายุให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความสุข สามารถพึ่งพาตนเองได้ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ และด้านสังคม (3) เพื่อเป็นศูย์กลางการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุรภาพชีวิตผู้สูงอายุเป็นศูนย์กลางให้ผู้สูงอายุได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ชีวิต และเป็นจิตอาสาร่วมสร้างสรรค์ประโยชน์ต่อชุมชน/สังคม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชุมชี้แจงปฐมนิเทศผู้เข้าร่วมโครงการและตรวจประเมินสุขภาวะก่อนเรียน (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ด้านส่งเสริมสุขภาพตามหลักสูตรโรงเรียนผู้สูงอายุตำบลปากน้ำ (3) กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การถอดบทเรียนการจัดการโรงเรียนผู้สูงอายุที่ดีปัจฉิมนิเทศก์และมอบวุฒิบัตรแก่ผู้เข้าร่วมโครงการ (4) กิจกรรมประชุมคณะทำงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุตำบลปากน้ำอย่างยั่งยืน (โรงเรียนผู้สูงอายุตำบลปากน้ำ) จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-L5312-3-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอรุณ เอ็มดู )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด