โครงการครอบครัวห่วงใย ใส่ใจป้องกันการเกิดแผลที่เท้าในผู้ป่วยโรคเบาหวาน
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการครอบครัวห่วงใย ใส่ใจป้องกันการเกิดแผลที่เท้าในผู้ป่วยโรคเบาหวาน ”
ตำบลรือเสาะ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางคอรีเป๊าะ ดอเลาะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรือเสาะ
มิถุนายน 2562
ชื่อโครงการ โครงการครอบครัวห่วงใย ใส่ใจป้องกันการเกิดแผลที่เท้าในผู้ป่วยโรคเบาหวาน
ที่อยู่ ตำบลรือเสาะ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 62-L8013-2-06 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 21 มิถุนายน 2562 ถึง 21 มิถุนายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการครอบครัวห่วงใย ใส่ใจป้องกันการเกิดแผลที่เท้าในผู้ป่วยโรคเบาหวาน จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลรือเสาะ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรือเสาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการครอบครัวห่วงใย ใส่ใจป้องกันการเกิดแผลที่เท้าในผู้ป่วยโรคเบาหวาน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการครอบครัวห่วงใย ใส่ใจป้องกันการเกิดแผลที่เท้าในผู้ป่วยโรคเบาหวาน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลรือเสาะ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 62-L8013-2-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 21 มิถุนายน 2562 - 21 มิถุนายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรือเสาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคเบาหวานเป็นโรคเรื้อรังที่เป็นปัญหาสำคัญและอัตราความชุกของโรคเพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้ผู้ป่วยมีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนทั้งเฉียบพลันและเรื้อรัง โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากระบบไหลเวียนโลหิตและระบบประสาท เช่น โรคหัวใจขาดเลือด โรคความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดสมอง โรคไต จอประสาทตาเสื่อม และการเกิดแผลที่เท้า
การเกิดแผลที่เท้าในผู้ป่วยโรคเบาหวาน เพิ่มโอกาสเสี่ยงต่อการถูกตัดขาสูงถึง 14,000 คนต่อปี และคาดว่าในปี 2563 จะเพิ่มเป็น 30,000 คนต่อปี สาเหตุที่สำคัญ ได้แก่ ผู้ป่วยรู้สึกว่าการดูแลเท้ามีความยุ่งยาก ไม่ทราบวิธีการดูแลเท้าที่ถูกต้อง และมักคิดว่าการทำความสะอาดเท้าเวลาอาบน้ำเพียงพอแล้วไม่จำเป็นต้องดูแลเท้าเป็นพิเศษ ซึ่งปัจจัยดังกล่าวสนับสนุนให้ผู้ป่วยเกิดความพิการและอาจเสียชีวิตได้ นอกจากนี้ กรณีเกิดการลุกลามและติดเชื้อของแผลจะส่งผลต่อค่าใช้จ่ายในการรักษาจำนวนมาก ซึ่งส่งผลระยะยาวต่อค่าใช้จ่ายในการทำขาเทียมให้แก่ผู้ป่วยต่อไป
จากการสำรวจข้อมูลผู้รับบริการของศูนย์แพทย์ชุมชนโรงพยาบาลรือเสาะ พบว่า ประชากรทั้งหมด 6,944 คน เป็นผู้ป่วยโรคเบาหวานจำนวน 280 คน คิดเป็นร้อยละ 4.03 นอกจากนี้ จากการปฏิบัติงานของอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ในการดูแลช่วยเหลือเจ้าหน้าที่ดูแลผู้ป่วยที่ผ่านมา พบว่า ผู้ป่วยโรคเบาหวานเกิดภาวะแทรกซ้อนจากแผลเบาหวานที่เท้า จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 3.57 ของผู้ป่วยโรคเบาหวานทั้งหมด ซึ่งต้องใช้ระยะเวลาในการรักษาแผลเป็นเวลานานมากกว่า 2 เดือน และบางรายใช้เวลารักษามากกว่า 1 ปี โดยมีผู้ป่วยต้องรักษาโดยการตัดนิ้วเท้า จำนวน 2 ราย ตัดขา จำนวน 2 ราย และติดชื้อในกระแสเลือดรุนแรงจนต้องรักษาตัวในหอผู้ป่วยวิกฤต จำนวน 1 รายส่งผลให้เกิดความท้อแท้และหมดกำลังใจในการดำรงชีวิต. ซึ่งจากการสอบถามผู้ป่วย พบว่า ผู้สูงอายุโรคเบาหวานยังขาดความรู้ที่นำไปสู่การปฏิบัติ ไม่เคยได้รับการฝึกทักษะในการดูแลและป้องกันการเกิดแผลที่เท้าซึ่งทำให้ไม่ทราบวิธีการปฏิบัติที่ถูกต้องรวมทั้งบางรายมีปัญหาด้านการมองเห็นและไม่ถนัดที่จะปฏิบัติด้วยตนเอง และหน่วยบริการยังขาดรูปแบบที่ชัดเจนในการสนับสนุนการจัดการตนเองด้านการดูแลแผลเบาหวานที่เท้าสำหรับผู้ป่วยและครอบครัว
อาสาสมัครสาธารณสุข จึงเล็งเห็นถึงความสำคัญและจัดทำโครงการนี้ขึ้นมา เพื่อส่งเสริมความรู้ เพิ่มทักษะการดูแลตนเอง และสร้างความมีส่วนร่วมของผู้ดูแลในครอบครัว เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนในเรื่องการเกิดแผลเบาหวานที่เท้าเพิ่มคุณภาพชีวิตให้กับผู้ป่วยต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑. เพื่อส่งเสริมความรู้ความเข้าใจของผู้ป่วยและผู้ดูแลในการป้องกันแผลเบาหวานที่เท้า
- 2. เพื่อส่งเสริมทักษะของผู้ป่วยและผู้ดูแลในการ ป้องกันแผลเบาหวานที่เท้า
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ชื่อกิจกรรม “การส่งเสริมความรู้และทักษะการป้องกันการเกิดแผลที่เท้าในผู้ป่วยโรคเบาหวาน”
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
100
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
๑. เพื่อส่งเสริมความรู้ความเข้าใจของผู้ป่วยและผู้ดูแลในการป้องกันแผลเบาหวานที่เท้า
ตัวชี้วัด : ๑. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันการเกิดแผลเบาหวานที่เท้า ประเมินจากผลการทดสอบก่อน- หลังเข้าร่วมโครงการโดยหลังเข้าร่วมโครงการสามารถทำแบบทดสอบความรู้ได้สูงกว่าก่อนเข้าโครงการ
0.00
2
2. เพื่อส่งเสริมทักษะของผู้ป่วยและผู้ดูแลในการ ป้องกันแผลเบาหวานที่เท้า
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถสาธิตย้อนกลับในการดูแล
เท้าสำหรับผู้สูงอายุโรคเบาหวานได้ถูกต้อง ร้อยละ
80
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
100
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
100
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อส่งเสริมความรู้ความเข้าใจของผู้ป่วยและผู้ดูแลในการป้องกันแผลเบาหวานที่เท้า (2) 2. เพื่อส่งเสริมทักษะของผู้ป่วยและผู้ดูแลในการ ป้องกันแผลเบาหวานที่เท้า
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ชื่อกิจกรรม “การส่งเสริมความรู้และทักษะการป้องกันการเกิดแผลที่เท้าในผู้ป่วยโรคเบาหวาน”
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการครอบครัวห่วงใย ใส่ใจป้องกันการเกิดแผลที่เท้าในผู้ป่วยโรคเบาหวาน จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 62-L8013-2-06
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางคอรีเป๊าะ ดอเลาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการครอบครัวห่วงใย ใส่ใจป้องกันการเกิดแผลที่เท้าในผู้ป่วยโรคเบาหวาน ”
ตำบลรือเสาะ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางคอรีเป๊าะ ดอเลาะ
มิถุนายน 2562
ที่อยู่ ตำบลรือเสาะ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 62-L8013-2-06 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 21 มิถุนายน 2562 ถึง 21 มิถุนายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการครอบครัวห่วงใย ใส่ใจป้องกันการเกิดแผลที่เท้าในผู้ป่วยโรคเบาหวาน จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลรือเสาะ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรือเสาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการครอบครัวห่วงใย ใส่ใจป้องกันการเกิดแผลที่เท้าในผู้ป่วยโรคเบาหวาน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการครอบครัวห่วงใย ใส่ใจป้องกันการเกิดแผลที่เท้าในผู้ป่วยโรคเบาหวาน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลรือเสาะ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 62-L8013-2-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 21 มิถุนายน 2562 - 21 มิถุนายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรือเสาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคเบาหวานเป็นโรคเรื้อรังที่เป็นปัญหาสำคัญและอัตราความชุกของโรคเพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้ผู้ป่วยมีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนทั้งเฉียบพลันและเรื้อรัง โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากระบบไหลเวียนโลหิตและระบบประสาท เช่น โรคหัวใจขาดเลือด โรคความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดสมอง โรคไต จอประสาทตาเสื่อม และการเกิดแผลที่เท้า
การเกิดแผลที่เท้าในผู้ป่วยโรคเบาหวาน เพิ่มโอกาสเสี่ยงต่อการถูกตัดขาสูงถึง 14,000 คนต่อปี และคาดว่าในปี 2563 จะเพิ่มเป็น 30,000 คนต่อปี สาเหตุที่สำคัญ ได้แก่ ผู้ป่วยรู้สึกว่าการดูแลเท้ามีความยุ่งยาก ไม่ทราบวิธีการดูแลเท้าที่ถูกต้อง และมักคิดว่าการทำความสะอาดเท้าเวลาอาบน้ำเพียงพอแล้วไม่จำเป็นต้องดูแลเท้าเป็นพิเศษ ซึ่งปัจจัยดังกล่าวสนับสนุนให้ผู้ป่วยเกิดความพิการและอาจเสียชีวิตได้ นอกจากนี้ กรณีเกิดการลุกลามและติดเชื้อของแผลจะส่งผลต่อค่าใช้จ่ายในการรักษาจำนวนมาก ซึ่งส่งผลระยะยาวต่อค่าใช้จ่ายในการทำขาเทียมให้แก่ผู้ป่วยต่อไป
จากการสำรวจข้อมูลผู้รับบริการของศูนย์แพทย์ชุมชนโรงพยาบาลรือเสาะ พบว่า ประชากรทั้งหมด 6,944 คน เป็นผู้ป่วยโรคเบาหวานจำนวน 280 คน คิดเป็นร้อยละ 4.03 นอกจากนี้ จากการปฏิบัติงานของอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ในการดูแลช่วยเหลือเจ้าหน้าที่ดูแลผู้ป่วยที่ผ่านมา พบว่า ผู้ป่วยโรคเบาหวานเกิดภาวะแทรกซ้อนจากแผลเบาหวานที่เท้า จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 3.57 ของผู้ป่วยโรคเบาหวานทั้งหมด ซึ่งต้องใช้ระยะเวลาในการรักษาแผลเป็นเวลานานมากกว่า 2 เดือน และบางรายใช้เวลารักษามากกว่า 1 ปี โดยมีผู้ป่วยต้องรักษาโดยการตัดนิ้วเท้า จำนวน 2 ราย ตัดขา จำนวน 2 ราย และติดชื้อในกระแสเลือดรุนแรงจนต้องรักษาตัวในหอผู้ป่วยวิกฤต จำนวน 1 รายส่งผลให้เกิดความท้อแท้และหมดกำลังใจในการดำรงชีวิต. ซึ่งจากการสอบถามผู้ป่วย พบว่า ผู้สูงอายุโรคเบาหวานยังขาดความรู้ที่นำไปสู่การปฏิบัติ ไม่เคยได้รับการฝึกทักษะในการดูแลและป้องกันการเกิดแผลที่เท้าซึ่งทำให้ไม่ทราบวิธีการปฏิบัติที่ถูกต้องรวมทั้งบางรายมีปัญหาด้านการมองเห็นและไม่ถนัดที่จะปฏิบัติด้วยตนเอง และหน่วยบริการยังขาดรูปแบบที่ชัดเจนในการสนับสนุนการจัดการตนเองด้านการดูแลแผลเบาหวานที่เท้าสำหรับผู้ป่วยและครอบครัว
อาสาสมัครสาธารณสุข จึงเล็งเห็นถึงความสำคัญและจัดทำโครงการนี้ขึ้นมา เพื่อส่งเสริมความรู้ เพิ่มทักษะการดูแลตนเอง และสร้างความมีส่วนร่วมของผู้ดูแลในครอบครัว เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนในเรื่องการเกิดแผลเบาหวานที่เท้าเพิ่มคุณภาพชีวิตให้กับผู้ป่วยต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑. เพื่อส่งเสริมความรู้ความเข้าใจของผู้ป่วยและผู้ดูแลในการป้องกันแผลเบาหวานที่เท้า
- 2. เพื่อส่งเสริมทักษะของผู้ป่วยและผู้ดูแลในการ ป้องกันแผลเบาหวานที่เท้า
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ชื่อกิจกรรม “การส่งเสริมความรู้และทักษะการป้องกันการเกิดแผลที่เท้าในผู้ป่วยโรคเบาหวาน”
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 100 | |
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ๑. เพื่อส่งเสริมความรู้ความเข้าใจของผู้ป่วยและผู้ดูแลในการป้องกันแผลเบาหวานที่เท้า ตัวชี้วัด : ๑. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันการเกิดแผลเบาหวานที่เท้า ประเมินจากผลการทดสอบก่อน- หลังเข้าร่วมโครงการโดยหลังเข้าร่วมโครงการสามารถทำแบบทดสอบความรู้ได้สูงกว่าก่อนเข้าโครงการ |
0.00 |
|
||
2 | 2. เพื่อส่งเสริมทักษะของผู้ป่วยและผู้ดูแลในการ ป้องกันแผลเบาหวานที่เท้า ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถสาธิตย้อนกลับในการดูแล เท้าสำหรับผู้สูงอายุโรคเบาหวานได้ถูกต้อง ร้อยละ 80 |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 100 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 100 | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อส่งเสริมความรู้ความเข้าใจของผู้ป่วยและผู้ดูแลในการป้องกันแผลเบาหวานที่เท้า (2) 2. เพื่อส่งเสริมทักษะของผู้ป่วยและผู้ดูแลในการ ป้องกันแผลเบาหวานที่เท้า
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ชื่อกิจกรรม “การส่งเสริมความรู้และทักษะการป้องกันการเกิดแผลที่เท้าในผู้ป่วยโรคเบาหวาน”
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการครอบครัวห่วงใย ใส่ใจป้องกันการเกิดแผลที่เท้าในผู้ป่วยโรคเบาหวาน จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 62-L8013-2-06
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางคอรีเป๊าะ ดอเลาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......