กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลดอนทราย


“ ตำบลอนามัยวัยเจริญพันธุ์ตำบลดอนทราย ปี 2562 ”

ตำบลดอนทราย อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายมนูญ แก้วเพ็ง

ชื่อโครงการ ตำบลอนามัยวัยเจริญพันธุ์ตำบลดอนทราย ปี 2562

ที่อยู่ ตำบลดอนทราย อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 62-L3335-2-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 พฤษภาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"ตำบลอนามัยวัยเจริญพันธุ์ตำบลดอนทราย ปี 2562 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดอนทราย อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลดอนทราย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ตำบลอนามัยวัยเจริญพันธุ์ตำบลดอนทราย ปี 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " ตำบลอนามัยวัยเจริญพันธุ์ตำบลดอนทราย ปี 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดอนทราย อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 62-L3335-2-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 พฤษภาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,150.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลดอนทราย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สืบเนื่องจากนโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์ แห่งชาติฉบับที่ ๑ (๒๕๕๓-๒๕๕๗) รัฐบาลมีนโยบายสนับสนุนให้การเกิดทุกรายเป็นที่ ปรารถนา ปลอดภัยและมีคุณภาพด้วยการส่งเสริมให้คนทุกเพศทุกวัย มีอนามัยการเจริญพันธุ์ที่ดี โดยยึดหลักความสมัครใจเสมอภาคและทั่วถึง เพื่อเป็นพลังประชาชนสร้างประเทศให้รุ่งเรืองมั่งคั่งและมั่นคงสืบไป อนามัยการเจริญพันธุ์ เป็นการพัฒนาประชากรที่ เน้นด้านคุณภาพการเจริญพันธุ์ ที่ครอบคลุมทั้งสุขภาพทางเพศทั้งด้านร่างกายจิตใจสังคม เพศมิติพฤติกรรมทางเพศ รวมถึงการแสดงบทบาททางเพศ จึงต้องเริ่มพัฒนาตั้งแต่การเกิดจนสิ้นอายุขัย ประกอบด้วย ๑๐องค์ประกอบได้แก่การวางแผนครอบครัว การอนามัยแม่และเด็กภาวะการมีบุตรยากการแท้งและภาวะแทรกซ้อนโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์โรคเอดส์มะเร็งระบบสืบพันธุ์ เพศศึกษาวัยรุ่น และภาวะหลังการเจริญพันธุ์ ซึ่งแต่ละองค์ประกอบมีความเชื่อมโยงส่งผลซึ่งกันและกันที่ จะนําไปสู่คุณภาพการเจริญพันธุ์ที่ดี ของประชากรในแต่ละวัย วัยรุ่นเป็นประชากรที่มีความสําคัญในการพัฒนาประเทศชาติเพราะเป็นกลุ่มเป้าหมายที่ต้องรับช่วงต่อการพัฒนาประเทศชาติจากผู้ ใหญ่วัยรุ่นทุกคนจะเจริญเติบโตพัฒนาเป็นวัยแรงงานเป็นพลเมืองของประเทศ เป็นพ่อ -แม่และเป็นหัวหน้าครอบครัว จึงเป็นทรัพยากรมนุษย์ที่มีค่าและมีความสําคัญอย่างยิ่งที่ ควรได้รับการพัฒนาดูแลให้มีคุณภาพเป้าหมายของการพัฒนาสุขภาพวัยรุ่น คือ การทําให้วัยรุ่นมีวิถีชีวิตสุขภาพที่ดีสดใสไม่ท้องก่อนวัยมีทักษะชีวิตที่ดี มีอนาคตนั้นหมายถึงต้องมีอนามัยการเจริญพันธุ์ที่มีคุณภาพและมีความรับผิดชอบต่อสังคมอย่างไรก็ตามด้วยสถานการณ์และแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจ สังคมและความเป็นอยู่รวมทั้งวิวัฒนาการความเจริญในด้านต่าง ๆ ของโลก ส่งผลให้ความเป็นอยู่ ของวัยรุ่นแปรเปลี่ยนตามกระแสนําไปสู่พฤติกรรมเสี่ยง ด้านอนามัยการเจริญพันธุ์สูงขึ้น เช่นการมีเพศสัมพันธ์ ไม่ปลอดภัยการมีค่านิยมที่ ไม่เหมาะสมในเรื่องเพศการมีเพศสัมพันธ์ก่อนแต่งงานในอัตราเพิ่มขึ้น แนวโน้มการมีเพศสัมพันธ์ครั้งแรกมีอายุน้อยลงเรื่อยๆปัญหาการถูกล่อลวงในเรื่องเพศสูงขึ้นรวมทั้งการมีเพศสัมพันธ์ที่ ขาดความรับผิดชอบซึ่งจะนําไปสู่ปัญหาต่าง ๆเช่น การตั้งครรภ์ไม่พึงปรารถนาการติดเชื้อจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ โรคเอดส์ การแท้งและภาวะแทรกซ้อน หรือแม้แต่ปัญหาด้านสังคมอื่น ๆ ที่ตามมานับวันจะรุนแรงมากขึ้น โดยเฉพาะปัญหาการตั้งครรภ์วัยรุ่นไทยอายุระหว่าง ๑๕-๑๙ ปี มีจํานวนถึง๕ ล้านคนและมีพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ ๑.๒๕ล้านคนในจํานวนนี้มีอัตราการตั้งครรภ์ ๒.๕ แสนคน ต่อปี โดยครึ่งหนึ่งเลือกที่จะทําแท้งซึ่งส่วนใหญ่เป็นการทําแท้งที่ไม่ปลอดภัย และมีอัตราการคลอดเฉลี่ย๑.๒ แสนรายต่อปีทั้งนี้ เนื่องจากการมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ปลอดภัยขาดการป้องกันมูลเหตุที่สําคัญพบว่าวัยรุ่นยังขาดความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องในเรื่องอนามัยการเจริญพันธุ์ขาดความตระหนักขาดทักษะต่างๆที่จําเป็นในการส่งเสริมอนามัยการเจริญพันธุ์ที่ดีและเข้าไม่ถึงบริการสุขภาพอนามัยการเจริญพันธุ์ ตลอดจนการมีส่วนร่วมในการพัฒนาสุขภาพของตนเองลดลง อีกทั้งครอบครัว ชุมชนและสังคมโดยรวมยังเข้าไม่ถึงปัญหาไม่ให้ความสําคัญกับการป้องกันและแก้ไขปัญหาดังกล่าว ปัจจุบันบริการที่จัดให้สำหรับวัยรุ่นและเยาวชน ทั้งในสถานบริการสาธารณสุข ในโรงเรียน และชุมชนมีอยู่ค่อนข้างจำกัด การที่วัยรุ่นและเยาวชนไม่สามารถเข้าถึงบริการสุขภาพจากระบบบริการที่มีคุณภาพ ส่งผลให้วัยรุ่นไม่มีที่ปรึกษา ปรึกษากันเอง หรือไปรับบริการในสถานที่ที่ไม่เหมาะสม ทำให้เกิดปัญหาสุขภาพสำหรับวัยรุ่น เช่น การตั้งครรภ์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และโรคเอดส์ ในวัยรุ่นและเยาวชนเพิ่มมากขึ้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกทราย ได้เล็งเห็นและตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการตำบลอนามัยวัยเจริญพันธุ์ตำบลดอนทราย ปี 2562 ขึ้น เพื่อให้เกิดการเชื่อมโยงของภาคีเครือข่ายบริการและเพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการสำหรับวัยรุ่นและเยาวชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่อง เพศศึกษาและพัฒนาการของตนเองเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น
  2. 2.เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ และทักษะในการจัดการกับสถานการณ์ ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศ
  3. 3.เพื่อให้เยาวชนตระหนักถึงความสำคัญของการเห็นคุณค่าและสร้างความภาคภูมิใจในตัวเอง
  4. 4.เพื่อสร้างเครือข่ายในโรงเรียน,หมู่บ้าน,ชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.จัดประชุมคณะกรรมการดำเนินงานตำบล
  2. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้กลุ่มเป้าหมายอนามัยเจริญพันธุ์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 10
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑.ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องอนามัยการเจริญพันธุ์
๒.มีการสร้างเครือข่ายในโรงเรียน,หมู่บ้าน,ชุมชนและครอบครัวที่เข้มแข็ง
๓.ปัญหาการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร/ ตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ลดลง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1.จัดประชุมคณะกรรมการดำเนินงานตำบล

วันที่ 4 มิถุนายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

ได้จัดประชุมคณะทำงานจำนวน 30 คนในการวางแผนดำเนินงานตำบลอนามัยเจริญพันธุ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะกรรมการเข้าใจรายละเอียดการดำเนินงาน สามารถวางแผนการประจำครั้งต่อไป มีกิจกรรมติดตาม กลุ่มเป้าหมายที่ต่อเนื่อง

 

30 0

2. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้กลุ่มเป้าหมายอนามัยเจริญพันธุ์

วันที่ 15 มิถุนายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้กลุ่มเป้าหมายอนามัยเจริญพันธุ์ จำนวน 50 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

หญิงวัยรุ่น อายุ 15 - 19 ปี วัดความรู้เรื่องเพศศึกษาได้ดังนี้ เป้าหมายได้รับความรู้ในระดับดีมาก ร้อยละ 76.00 เป้าหมายได้รับความรู้ในระดับดี ร้อยละ 8.0 เป้าหมายได้รับความรู้ในระดับปานกลาง ร้อยละ 20.00 กลุ่มเป้าหมาย 50 คน สามารถรู้วิธีการป้องกันตนเองในเรื่องเพศศึกษา และสามารถกำจัดสถานการณ์เรื่องเพศได้

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่อง เพศศึกษาและพัฒนาการของตนเองเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้และความเข้าใจเรื่อง เพศศึกษาและพัฒนาการของตนเองเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น
50.00

 

2 2.เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ และทักษะในการจัดการกับสถานการณ์ ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ และทักษะในการจัดการกับสถานการณ์ ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศ
50.00

 

3 3.เพื่อให้เยาวชนตระหนักถึงความสำคัญของการเห็นคุณค่าและสร้างความภาคภูมิใจในตัวเอง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายตระหนักถึงความสำคัญของการเห็นคุณค่าและสร้างความภาคภูมิใจในตัวเอง
50.00

 

4 4.เพื่อสร้างเครือข่ายในโรงเรียน,หมู่บ้าน,ชุมชน
ตัวชี้วัด : มีเครือข่ายในโรงเรียน,หมู่บ้าน,ชุมชน อย่างน้อย 1 เครือข่าย
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 110
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 10
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 0
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 0
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 0
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 0

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่อง เพศศึกษาและพัฒนาการของตนเองเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น (2) 2.เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ และทักษะในการจัดการกับสถานการณ์ ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศ (3) 3.เพื่อให้เยาวชนตระหนักถึงความสำคัญของการเห็นคุณค่าและสร้างความภาคภูมิใจในตัวเอง (4) 4.เพื่อสร้างเครือข่ายในโรงเรียน,หมู่บ้าน,ชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.จัดประชุมคณะกรรมการดำเนินงานตำบล (2) จัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้กลุ่มเป้าหมายอนามัยเจริญพันธุ์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ ตำบลอนามัยวัยเจริญพันธุ์ตำบลดอนทราย ปี 2562

รหัสโครงการ 62-L3335-2-05 ระยะเวลาโครงการ 10 พฤษภาคม 2562 - 30 กันยายน 2562

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

ตำบลอนามัยวัยเจริญพันธุ์ตำบลดอนทราย ปี 2562 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 62-L3335-2-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายมนูญ แก้วเพ็ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด