กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางเขา


“ โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ”

ตำบลบางเขา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายเพ็ชรน้อย คงเย็น

ชื่อโครงการ โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก

ที่อยู่ ตำบลบางเขา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางเขา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางเขา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางเขา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 36,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางเขา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่มียุงลายเป็นแมลงนำโรค ซึ่งเป็นปัญหาสาธารณสุขและการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน พบได้ทุกกลุ่มอายุ แต่ส่วนใหญ่จะอยู่ในกลุ่มอายุ 5 – 14 ปี การระบาดของโรคจะเกิดในช่วงฤดูฝน โดยธรรมชาติของการเกิดโรคจะมีลักษณะการระบาดปีเว้นปี หรือปีเว้นสองปีหรือระบาดติดต่อกัน 2 ปีเว้น 1 ปี โรคไข้เลือดออกเดงกี (Dengue Hemorrhagic fever) นับเป็นโรคติดเชื้อไวรัสเดงกีที่พบใหม่ (Emerging disease) เมื่อ 57 ปีที่แล้ว โดยพบระบาดเป็นครั้งแรกที่ประเทศฟิลิปปินส์ เมื่อปี พ.ศ. 2497 และต่อมาพบระบาดในประเทศไทยเมื่อปี พ.ศ.2501 และหลังจากนั้นได้ระบาดไปยังประเทศต่างๆ ที่อยู่ในเขตร้อนของทวีปเอเชีย ในระยะ 40 ปีที่ผ่านมา มีการระบาดของไข้เดงกี/ไข้เลือดออกเดงกี เพิ่มมากขึ้น มีการระบาดเพิ่มขึ้นในบางพื้นที่ และจำนวนผู้ป่วยในแต่ละครั้งที่มีการระบาดก็เพิ่มมากขึ้น อีกทั้งมีการขยายพื้นที่ที่มีการระบาดออกไปอย่างกว้างขวาง ใน พ.ศ.2524 เริ่มมีการระบาดของไข้เลือดออกเดงกีเป็นครั้งแรกที่คิวบาหลังจากนั้นก็มีการรายงานของไข้เลือดออกเดงกีเป็น Emerging disease ของประเทศต่างๆในอเมริกากลางและอเมริกากลางมากขึ้น ในประเทศไทยเริ่มมีการระบาดครั้งแรกในปี พ.ศ.2501 ในปัจจุบันนี้จึงนับได้ว่าโรคไข้เลือดออกที่นำโดยยุงลาย (Aedes aegypti) ซึ่งมีเชื้อไวรัสที่เรียกว่า ไวรัสเดงกี ที่มีความสำคัญมากที่สุด โดยพิจารณาทางด้านสาธารณสุขที่มีผู้ป่วยในแต่ละปีเป็นจำนวนมาก และมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ และทางด้านการแพทย์ ผู้ป่วยไข้เลือดออกเดงกีที่รุนแรงอาจเกิดภาวะช็อกซึ่งเป็นมาจากการรั่วของพลาสมา ทำให้ถึงเสียชีวิตอย่างรวดเร็วถ้าไม่ได้รับการวินิจฉัยและรักษาอย่างถูกต้อง โรคนี้นับเป็นสาเหตุที่สำคัญของการป่วยและการตายในเด็กอย่างน้อยใน 8 ประเทศของทวีปเอเชียที่มีโรคนี้ชุกชุม ปัจจัยที่สำคัญที่ทำให้มีการระบาดและมีการขยายพื้นที่เกิดโรคออกไปอย่างกว้างขวางได้แก่ การเพิ่มของภาชนะขังน้ำที่คนทำขึ้น การคมนาคมที่สะดวกขึ้นทั้งทางถนนและทางอากาศ ทำให้มีการเดินทางมากขึ้นทั้งภายในและระหว่างประเทศ ปัจจัยเสี่ยงที่จะทำให้เกิดโรคแบบ DHF ที่สำคัญคือ การที่พื้นที่มีเชื้อไวรัสเดงกีชุกชุม มีมากกว่าหนึ่งชนิด ในเวลาเดียวกัน (Hyperendemicity with multiple serotypes) หรือมีการระบาดทีละชนิดตามกันในเวลาที่เหมาะสม (Sequential infection) เด็กมีความเสี่ยงมากกว่าผู้ใหญ่ ส่วนใหญ่เป็นเด็กที่เคยติดเชื้อมาแล้วครั้งหนึ่ง และเป็นเด็กที่มีภาวะโภชนาการดี โรคไข้เลือดออกนับเป็นปัญหาที่สำคัญที่เกิดขึ้นในตำบลบางเขา จากกสถิติข้อมูลย้อนหลังจำนวน 5 ปี พบผู้ป่วยทุกปีและมีอัตราป่วย / แสน ประชากรดังนี้ คือ ปี 2557 , 2558 , 2559,2560,2561 คือ 171.38 , 27.05 , 189.37 , 81.16,40.58 ตามลำดับ สำหรับปี 2562 พบผู้ป่วยแล้วจำนวน 1 ราย และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ
ในการนี้ทางอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลบางเขาและทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางเขาได้ตระหนักถึงความสำคัญในการดำเนินการเฝ้าระวังและควบคุมโรคไข้เลือดออกโดยให้ประชาชนและองค์กรในท้องถิ่นมีส่วนร่วมเพื่อให้การเฝ้าระวังและป้องกันโรคไข้เลือดออกมีความยั่งยืนและเป็นรูปธรรม จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังและควบคุมโรคไข้เลือดออกในตำบลบางเขาขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดอัตราป่วยไม่ให้เกิน 50 ต่อแสนประชากร
  2. เพื่อพัฒนาศักยภาพของอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลบางเขา
  3. เพื่อควบคุมและทำลายแหล่งแพร่พันธ์ลูกน้ำยุงลาย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมชี้แจงแนวทาง
  2. รณรงค์และประชาสัมพันะ์
  3. พ่นนำ้ยาเคมีทำลายยุงตัวแก่

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.หลังดำเนินการโครงการอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง 2.ดัชนีความชุกของยุงลาย (CI,HI) ในหมู่บ้าน โรงเรียน ศาสนสถานและสถานที่ราชการลดลงตำ่กว่าเกณฑ์ 3.ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างจริงจังและต่อเนื่อง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมชี้แจงแนวทาง

วันที่ 5 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันและควบคุมไข้เลือดออก

 

100 0

2. รณรงค์และประชาสัมพันะ์

วันที่ 9 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

เดินรณรงค์และประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกในเขตชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนได้รับความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก

 

0 0

3. พ่นนำ้ยาเคมีทำลายยุงตัวแก่

วันที่ 10 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

พ่นน้ำยาเคมีทำลายยุงตัวแก่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ดัชนีความชุกของยุงลายในหมู่บ้าน โรงเรียน ศาสนสถานและสภานที่ราชการ ลดลงต่ำกว่าเกณฑ์

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดอัตราป่วยไม่ให้เกิน 50 ต่อแสนประชากร
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อพัฒนาศักยภาพของอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลบางเขา
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อควบคุมและทำลายแหล่งแพร่พันธ์ลูกน้ำยุงลาย
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดอัตราป่วยไม่ให้เกิน 50 ต่อแสนประชากร (2) เพื่อพัฒนาศักยภาพของอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลบางเขา (3) เพื่อควบคุมและทำลายแหล่งแพร่พันธ์ลูกน้ำยุงลาย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจงแนวทาง (2) รณรงค์และประชาสัมพันะ์ (3) พ่นนำ้ยาเคมีทำลายยุงตัวแก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายเพ็ชรน้อย คงเย็น )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด