กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการแกนสุขภาพ ชีวีมีสุขปี ๒๕๖๒
รหัสโครงการ 62-L2524-1-0006
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านป่าไผ่
วันที่อนุมัติ 5 เมษายน 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มิถุนายน 2562 - 27 ธันวาคม 2562
กำหนดวันส่งรายงาน 30 ธันวาคม 2562
งบประมาณ 14,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวแวฆูลียะห์ แวอาแซ
พี่เลี้ยงโครงการ นายอับดุลรอฟิด หะยีดือเระ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลกาหลง อำเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด 6.2911192039982,101.51107405774place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกิจกรรมทางกาย
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 มิ.ย. 2562 27 ธ.ค. 2562 1 มิ.ย. 2562 27 ธ.ค. 2562 14,000.00
รวมงบประมาณ 14,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 80 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 การสร้างสุขภาพ ถือเป็นกลยุทธ์ทางสุขภาพที่กำลังได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางว่าจะช่วยกระตุ้นและส่งเสริมให้บุคคลเกิดพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพมากยิ่งขึ้นซึ่งจะส่งผลโดยตรงต่อสุขภาพของบุคคล ช่วยลดอัตราป่วยด้วยโรคต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคอันเกี่ยวเนื่องกับวิ
60.00
2 การสร้างสุขภาพ ถือเป็นกลยุทธ์ทางสุขภาพที่กำลังได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางว่าจะช่วยกระตุ้นและส่งเสริมให้บุคคลเกิดพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพมากยิ่งขึ้นซึ่งจะส่งผลโดยตรงต่อสุขภาพของบุคคล ช่วยลดอัตราป่วยด้วยโรคต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคอันเกี่ยวเนื่องกับวิ
50.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

การสร้างสุขภาพ ถือเป็นกลยุทธ์ทางสุขภาพที่กำลังได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางว่าจะช่วยกระตุ้นและส่งเสริมให้บุคคลเกิดพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพมากยิ่งขึ้นซึ่งจะส่งผลโดยตรงต่อสุขภาพของบุคคล ช่วยลดอัตราป่วยด้วยโรคต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคอันเกี่ยวเนื่องกับวิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไป เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคเครียดและโรคมะเร็ง สาเหตุที่พบอบัติการณ์ของโรคเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ เนื่องจาก กระบวนการสร้างสุขภาพ ไม่เพียงแต่จะเป็นกระบวนการที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการให้การศึกษาด้านสุขภาพเท่านั้นแต่ยังเกี่ยวข้องกับการสนับสนุนด้านสิ่งแวดล้อมที่เอื้อให้เกิดผลในทางปฏิบัติและสภาพการณ์ของการดำรงชีวิตที่สอดคล้องกับสิ่งแวดล้อมทางวัฒนธรรม บรรทัดฐานทางสังคม สิ่งแวดล้อมทางเศรษฐกิจซึ่งก็คือวิถีการดำเนินชีวิต ซึ่งจะก่อให้เกิดภาวะสุขภาพที่สมบูรณ์ของบุคคลและชุมชนนั่นเอง นอกจากนี้แนวโน้มการเจ็บป่วยและปัญหาสุขภาพของประชาชนก็มีความซับซ้อนมากขึ้น ด้งนั้นการแก้ไขด้วยวิธีคิด วิธีการ และองค์์ความรู้เดิมจึงไม่เพียงพอถึงเวลาที่ทุกภาคส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบด้วยการสร้างสุขภาพและด้วยภูมิปัญญาของชุมชนทั้งสังคม โดยการเน้นให้ประชาชนมีพฤติกรรมการออกกำลังกายอย่าต่อเนื่อง บริโภคอาหารที่สุก สะอาด ปลอดภัยไม่เป็นโรค หลักสำคัญในการดูแลสุขภาพเพื่อก้าวสู่การมีสุขภาพดี คือ การให้ความรู้ทางด้านโภชนาการอาหาร การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ การดูแลสุขภาพจิตและลดพฤติกรรมเสี่ยงต่าง ๆจะช่วยป้องกันโรคที่กล่าวมาแล้วทั้งหมดได้ด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคให้ถูกชนิด ปริมาณ และถูกเวลา ควรเลือกกินอาหารให้ครบ 5 หมู่ให้หลากหลายและพอเพียง งดอาหารหวาน มันเค็ม ดูแลน้ำหนักตัวให้อยู่ในเกณฑ์ที่พอเหมาะ ควบคู่ไปกับการออกกำลังกายสม่ำเสมอ จากนโยบายสร้างหลักประกันสุขภาพในระยะยาว ได้ขยายขอบเขตการบริการส่งเสริมสุขภาพไปยังกลุ่มผู้มีสิทธิในการรักษาทุกประเภทเพื่อให้มีความรู้และทักษะในการดูแลตนเอง การที่แกนนำชมรมสร้างสุขภาพ จะสามารถนำความรู้และประสบการณ์ไปใช้เพื่อขยายแนวร่วมการดำเนินงานสู่ภาคประชาชนได้ จำเป็นจะต้องมีความรู้ มีทักษะและการให้คำแนะนำ ที่ถูกต้องร่วมทั้งเป็นแบบอย่างที่ดีในเรื่องการสร้างสุขภาพ ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านป่าไผ่ จัดทำโครงการนี้ขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้ผู้นำศาสนา ผู้นำชุมชน อสม. สามารถเป็นต้นแบบและแกนนำสุขภาพในชุมชนได้

ผู้นำศาสนา ผู้นำชุมชน  อสม. สามารถเป็นต้นแบบและแกนนำสุขภาพในชุมชนได้

1.00
2 2. เพื่อให้เกิดกองทุนสุขภาพในการจัดการปัญหาสุขภาพของชุมชน

ปัญหาเรื่องสุขภาพในชุมชนลดลง

0.00 1.00
3 3. เพื่อให้เกิดมุมสร้างเสริมสุขภาพในมัสยิด

ในการให้ความรู้ที่มัสยิด ในชุมชนอิสลามสามารถนำไปพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้นได้เกินร้อยละ 80

1.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 14,000.00 0 0.00
??/??/???? ๑.อบรมให้ความรู้ให้กับผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน 0 11,000.00 -
??/??/???? กิจกรรมการประกวดผู้มีสุขภาพที่ดีเพื่อเป็นต้นแบบและแกนนำสุขภาพในชุมชนได้ 0 3,000.00 -

ขั้นเตรียมการ 1 ประชุมชี้แจงเพื่อทำความเข้าใจกับเจ้าหน้าที่ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านป่าไผ่ 2 ประชุมประสานงานการดำเนินงานระหว่าง ผู้นำชุมชน อบต. อสม. และผู้เกี่ยวข้องในการดำเนินโครงการ 3.จัดทำแผนตรวจสุขภาพผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา อสม. ที่มัสยิด/รพ.สต.บ้านป่าไผ่ ขั้นดำเนินการ 1ประชุมผู้นำและอสม. เพื่อชี้แจงแนวมทางการปฏิบัติงาน 2แจ้งแผนตรวจสุขภาพตรวจสุขภาพผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา ที่มัสยิด 3อบรมให้ความรู้ด้านสุขภาพแก่ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา อสม. 4ตรวจสุขภาพประจำปีแก่ผู้นำศาสนา ผู้นำชุมชน อสม. 5แลกเปลี่ยนเรียนรู้การปฏิบัติตนที่ถูกต้องตามหลักศาสนา 6สรุปประเมินผลโครงการ ขั้นตรวจสอบและประเมินผล 1สรุปและจัดทำรายงานประเมินผลโครงการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1ผู้นำศาสนา ผู้นำชุมชน อสม.สามารถเป็นต้นแบบและแกนนำสุขภาพในชุมชนได้ 2สามารถสร้างและพัฒนาเครือข่ายการดูแลสุขภาพโดยชุมชน 3เกิดคณะทำงานสร้างเสริมสุขภาพชุมชน (สสช.) จำนวน 1 คณะ 4เกิดมุมสร้างเสริมสุขภาพในมัสยิดจำนวน 3 ที่ จากจำนวนมัสยิดที่เข้าร่วมทั้งสิ้น 3 ที่

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 15 พ.ค. 2562 00:00 น.