กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ รณรงค์สุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมดี ที่พักอาศัยสะอาด ป้องกันโรคจากยุงลาย ชุมชนเกาะเลียบ ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นายจิตร์ ไหมแก้ว




ชื่อโครงการ รณรงค์สุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมดี ที่พักอาศัยสะอาด ป้องกันโรคจากยุงลาย ชุมชนเกาะเลียบ

ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L7258-2-33 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2562 ถึง 31 สิงหาคม 2562

กิตติกรรมประกาศ

"รณรงค์สุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมดี ที่พักอาศัยสะอาด ป้องกันโรคจากยุงลาย ชุมชนเกาะเลียบ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
รณรงค์สุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมดี ที่พักอาศัยสะอาด ป้องกันโรคจากยุงลาย ชุมชนเกาะเลียบ



บทคัดย่อ

โครงการ " รณรงค์สุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมดี ที่พักอาศัยสะอาด ป้องกันโรคจากยุงลาย ชุมชนเกาะเลียบ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L7258-2-33 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2562 - 31 สิงหาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,760.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

บ้านหรือที่พักอาศัยถือเป็นปัจจัยขั้นพื้นฐานต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ ปัจจุบันวิถีชีวิตและสภาพของสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป การทำงานที่รีบเร่งแข่งกับเวลาทำให้ประชาชนละเลยต่อสภาพความเป็นอยู่ของครอบครัว และไม่มีการจัดการดูแลที่พักอาศัยที่เหมาะสม โดยเฉพาะเรื่องของการสุขาภิบาลขั้นพื้นฐานในครัวเรือน เช่น ความสะอาด ความเป็นระเบียบเรียบร้อย การจัดการมูลฝอย น้ำเสีย รวมทั้งสัตว์และแมลงพาหะนำโรค ซึ่งอาจส่งผลให้เกิดการเจ็บป่วยด้วยโรคต่าง ๆ โดยเฉพาะโรคที่เกิดจากยุงเป็นพาหะ เช่นไข้เลือดออก ชิคุนกุนยา และโรคติดเชื้อไวรัสซิกา ที่เกิดจากปัญหาการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ไม่ดี ทำให้มีแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย รวมทั้งการจัดการดูแลความเป็นระเบียบเรียบร้อยของที่พักไม่เหมาะสม เอื้อต่อการพักอาศัยของยุงลาย ชุมชนสถานีอู่ตะเภา จึงได้จัดทำโครงการ “รณรงค์สุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมดี ที่พักอาศัยสะอาด ป้องกันโรคจากยุงลาย”ขึ้น เพื่อให้ประชาชนในชุมชน มีความตระหนัก ถึงความสำคัญของการสุขาภิบาลที่พักอาศัย การสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมขั้นพื้นฐานในครัวเรือน ส่งเสริมให้ประชาชนร่วมกันปรับปรุงสภาพแวดล้อมทั้งในบ้าน และบริเวณบ้านโดยรอบให้ถูกต้อง และเหมาะสม เพื่อลดปัญหาการเกิดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย และลดลดปัจจัยเอื้อต่อการเกิดยุงลาย ดำเนินงาน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อรณรงค์ส่งเสริม การมีส่วนร่วมพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของครัวเรือน และชุมชน
  2. เพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย
  3. เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคที่มียุงลายเป็นพาหะ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมเตรียมงาน ติดตามและสรุปโครงการ
  2. อบรมให้ความรู้
  3. พบปะพูดคุยและเดินรณรงค์ประชาสัมพันธ์ในชุมชน
  4. การสื่อสารและประชาสัมพันธ์
  5. สรุปผลโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนในชุมชนสถานีอู่ตะเภา มีความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออกและชิคุนกุนยา เพิ่มขึ้น สามารถป้องกัน ดูแลตนเองและคนในครอบครัวได้
  2. ประชาชนในชุมชนสถานีอู่ตะเภาสามารถกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์โรคได้ ทำให้แหล่ง เพาะพันธุ์โรคในชุมชนลดลงและผู้ป่วยไข้เลือดออกในชุมชนลดลง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมเตรียมงาน ติดตามและสรุปโครงการ

วันที่ 8 ตุลาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มที่ใช้ในการประชุม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมประชุมได้รับอาหารว่างและเครื่องดื่ม

 

40 0

2. อบรมให้ความรู้

วันที่ 8 ตุลาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ค่าตอบแทนวิทยากร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมอบรมได้รับความรู้

 

40 0

3. พบปะพูดคุยและเดินรณรงค์ประชาสัมพันธ์ในชุมชน

วันที่ 8 ตุลาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

เดินรณรงค์ แจกแผ่นพับและทรายกำจัดลูกน้ำ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คนในชุมชนได้รับข้อมูลที่เป็นประโยชน์แก่ตนเองและครบครัว

 

40 0

4. การสื่อสารและประชาสัมพันธ์

วันที่ 8 ตุลาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ติดป้ายไวนิลในชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คนในชุมชนรับทราบโดยทั่วกัน

 

40 0

5. สรุปผลโครงการ

วันที่ 8 ตุลาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

รวบรวมเอกสารที่เกี่ยวข้องในการจัดทำโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้เอกสารฉบับสมบูรณ์เพื่อใช้ส่งให้กองทุนฯจำนวน 2 เล่ม

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อรณรงค์ส่งเสริม การมีส่วนร่วมพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของครัวเรือน และชุมชน
ตัวชี้วัด : ประชาชนให้ความร่วมมือดูแลสิ่งแวดล้อมเพิ่มขึ้น
0.00

 

2 เพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย
ตัวชี้วัด : พบแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายลดลง
0.00

 

3 เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคที่มียุงลายเป็นพาหะ
ตัวชี้วัด : อัตราการป่วยด้วยโรคที่มียุงลายลดลงหลังดำเนินโครงการ
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อรณรงค์ส่งเสริม การมีส่วนร่วมพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของครัวเรือน และชุมชน (2) เพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย (3) เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคที่มียุงลายเป็นพาหะ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมเตรียมงาน ติดตามและสรุปโครงการ (2) อบรมให้ความรู้ (3) พบปะพูดคุยและเดินรณรงค์ประชาสัมพันธ์ในชุมชน (4) การสื่อสารและประชาสัมพันธ์ (5) สรุปผลโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


รณรงค์สุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมดี ที่พักอาศัยสะอาด ป้องกันโรคจากยุงลาย ชุมชนเกาะเลียบ จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L7258-2-33

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายจิตร์ ไหมแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด